ReadyPlanet.com
dot
dot
สืบเสาะเจาะลึกเมืองสกล
dot
bulletMegalithic Gate of Equinox ...... Sakon Nakhon Thailand
bulletปฏิทินท่องเที่ยวดาราศาสตร์และโหราศาสตร์เมืองสกล Mar 2024 - Feb 2025
bulletหนองหารหลวง ....... นครแห่ง "สุริยะปฏิทินพันปี"
bulletหนองหารหลวง ........ เมืองแห่ง "มหาสงกรานต์" จริงหรือ?
bulletปราสาทนารายณ์เจงเวง .....อะไรหายไปแล้ว อะไรเสี่ยงสูญหาย
bulletปราสาทภูเพ็ก ถูกดัดแปลง?
bulletสะพานขอมปัจจุบัน ....... โบราณสถานตัวจริง หรือสร้างใหม่?
bulletนาฬิกาแดดขนาดยักษ์เมืองสกล Google Earth ก็มองเห็น
bulletนาฬิกาแดดโรงเรียนวิถีธรรมเมืองสกล ...... มรดกจากบรรพชน
bulletSakon Hempmade มิติใหม่อุตสาหกรรมสิ่งทอ
bulletความรู้ปัจจุบัน ฤาจะเทียบชั้นกับวันวาน Ancient Wisdom V/S Digital Technology
bulletพบฐานรากปราสาทขอมใกล้ลำน้ำก่ำ
bulletปราสาทภูเพ็ก สกลนคร สุดๆแห่งปราสาทขอมในประเทศไทย
bulletปฏิบัติการภูเพ็ก ดอนสวรรค์ พิสูจน์คำทำนายซินแส ฮวงจุ้ยเมืองสกล
bulletสุริยะปฏิทินขอมพันปี
bullet "อาทิตย์ทรงกลด" ณ ปราสาทขอมเมืองสกล วิทยาศาสตร์ที่ลงตัวกับความเชื่อ
bulletโลกล้านปีที่แอ่งสกลนคร
bulletกลุ่มชาติพันธุ์ไทโส้ ....... เป็นใคร ....... มาจากไหน?
bulletพระยาสุระอุทก .......หนองหารหลวง ตำนานที่จับต้องได้
bulletรับพลังสุริยะยุคก่อนประวัติศาสตร์ ...... ที่สกลนคร
bulletกรมศิลปากรโยนหินถาม...เอกสารสิทธิ์ทับคูเมืองสกลโบราณ จะออกทางไหน
bulletหลากมิติอารยธรรม 4 ยุค "บ้านท่าวัด" ริมหนองหาร สกลนคร
bulletถอดจารึกขอม "ภูถ้ำพระ" ทำไมพระพุทธรูปไปอยู่ที่นั่น
bulletปราสาทขอมเมืองสกล.....เอาหินมาจากไหน ?
bulletพระธาตุดุม....ในอีกมุมมอง
bulletมุมมองใหม่ "สะพานขอม" ฝายทดน้ำชลประทาน
bulletไขความลับปราสาทนารายณ์เจงเวง
bulletหนองหารหลวงเมืองหน้าด่าน ยันกับอาณาจักรจาม
bulletไขประตูสู่อดีตพระธาตุเชิงชุม ...... ในอีกมุมมอง
bulletประตูเมืองโบราณสกลนครอยู่ตรงไหน
bulletปฏิบัติการ "มหาสงกรานต์" ไขปริศนาจารึกเมืองสกลโบราณ
dot
เปิดประเด็นการท่องเที่ยว
dot
bulletปราสาทบ้านปรางค์ มิติดาราศาสตร์และศาสตร์แห่งความเชื่อ
bulletปลานิล Biofloc "Safe and Saab"
bulletStory Board มหัศจรรย์ปราสาทภูเพ็ก ตำนานที่จับต้องได้
bulletเรือท่องเที่ยวหนองหารขับเคลื่อนด้วยพลังงานไฟฟ้า
bulletตัวอย่าง เส้นทางท่องเที่ยวสกลนคร 2 วัน 1 คืน
bulletยุทธศาสตร์การท่องเที่ยวเส้นทาง "ราชมรรคา"
bulletTourism Gimmick
bulletTourism Project Proposal
bulletสุริยะปฏิทินจักรราศีดอนสวรรค์ Don Sawan Zodiacal Solar Calendar
bulletSt.Peter's Fish โปรโมทการท่องเที่ยวและสร้างอาชีพใหม่....สกลนคร
bulletBig Project Tourism SNO
bulletAdventure Tourism (Search-Found-Selfie) ลุยป่าค้นหาขอมพันปี
dot
ปฏิบัติการดาราศาสตร์ Operation Astronomy
dot
bulletOperation Equinox 2024
bulletOperation Spica .... ไขปริศนา "เมืองโบราณศรีเทพ"
bulletย้อนอดีต "ราหูอมสุริยา" ก่อนเปลี่ยนแผ่นดินสมเด็จพระนารายณ์มหาราช
bulletOperation Rahu Episode XV วัดระยะทาง โลก - ดวงจันทร์ - ดวงอาทิตย์
bulletเจาะลึกเบื้องหลังเมืองโบราณศรีเทพ Operation Spica EP 2
bulletOperación Intercontinental Solsticio de Invierno ปฏิบัติการดาราศาสตร์ เห-มา-ยัน ข้ามทวีป ไทย - เม็กซิโก ธันวาคม 2022
bulletOperation Rahu Episode XIV Total Lunar Eclipse 8 Nov 2022 How Far is The Moon?
bulletOperation Transcontinental Equinox 2022 ปฏิบัติการวสันตวิษุวัตข้ามทวีป 2565
bulletOperation Chou Li Episode V ..... Earth's axis tilt 23.5?
bulletOperation Rahu Episode XIII How Far is the Moon (Lunar Eclipse 26 May 2021)
bulletOperation Bhishma Winter Solstice 2020 finding Earth's axis tilt
bulletOperation Rahu Episode XII Solar Eclipse and Summer Solstice 21 June 2020 How far and how big is the sun
bulletOperation Rahu Episode XI How far is the sun
bulletปฏิบัติการราหู ครั้งที่ 10 (Operation Rahu X) วัดระยะทางโลก - ดวงอาทิตย์ ปรากฏการณ์สุริยะปราคาเต็มดวง
bulletปฏิบัติการชูหลี 4 มุมเอียงโลกยังคง 23.5 หรือไม่ (Operation Chou Li Episode IV)
bulletOperation Eratosthenes Episode II Mar 21, 2019 Measure Earth's circumference with one stick
bulletปฏิบัติการวันสิ้นโลกภาคสาม Operation Doomsday Episode III
bulletOperation Galileo Episode II วัดความเร็วของโลก "หมุนรอบตัวเอง (Rotation) และโคจรรอบดวงอาทิตย์ (Revolution)"
bulletOperation Rahu IX 28 July 2018 Total Lunar Eclipse วัดระยะทางโลก - ดวงจันทร์
bulletOperation Rahu VIII Measuring Distance Earth-Moon ปฏิบัติการข้ามทวีป Thailand - USA
bulletOperation Chou Li Episode III (Measure Earth Axis Tilt With One Stick)
bulletปฏิบัติการไจตระ ถอดรหัสคณิตศาสตร์ขอมพันปี ปราสาทภูเพ็ก สกลนคร
bulletปฏิบัติการดาราศาสตร์ข้ามทวีป Operation Transcontinental Equinox 2016
bulletOperation Bhishma 2016 ปฏิบัติการดาราศาสตร์ข้ามทวีป ..... การหมุนรอบตัวเองและวงโคจรของโลกยังคงปกติหรือไม่?
bulletวัดมุมเอียงของโลก...ด้วยไม้แท่งเดียว
bulletOperation Rahu Episode I measuring earth to moon วัดระยะทางจากโลกถึงดวงจันทร์ ในปรากฏการณ์จันทรุปราคาเต็มดวง
bulletOperation Rahu Episode II สูตรใหม่คำนวณระยะทางโลกไปดวงจันทร์
bulletปฏิบัติการ "เจนัส" วัดมุมเอียงของโลก
bulletOperation Rahu Episode III 4 April 2015 วัดระยะทางโลกไปดวงจันทร์
bulletปฏิบัติการเวกัส 2558 "อีราโต้สทีเน้ส " ภาค 2 วัดโลกทั้งใบด้วยไม้แท่งเดียว
bulletOperation Rahu Episode IV วัดระยะทางโลก - ดวงจันทร์
bulletปฏิบัติการชูหลี (Operation Chou Li) ยืนยันมุมเอียงโลก 23.5 องศา
bulletOperation Rahu Episode V วัดระยะทางโลก - ดวงอาทิตย์
bulletOperation Rahu Episode VI How far and how big is the Moon
bulletOperation Rahu Episode VII How far and how big is the sun
bulletOperation Chou Li Episode II (Measuring Earth's Tilt)
bulletวัดโลกทั้งใบ ไทย กัมพูชา ปฏิบัติการ "อีราโตสทีเนส" ข้ามประเทศ
bulletปฏิบัติการ "กาลิเลโอ" วัดความเร็วการหมุนของโลกที่ปราสาทภูเพ็ก
bulletปฏิบัติการวันสิ้นโลกภาค 2 ข้ามทวีป ปราสาทภูเพ็ก สกลนคร VS ปีรามิดเผ่ามายา เม็กซิโก
dot
แนะนำผู้เขียน
dot
bulletนายกสโมสรโรตารีสกลนคร ปีบริหาร 2556 - 2557
bulletสรรค์สนธิ บุณโยทยาน
dot
สากกะเบือยันเรือรบ กับปราสาทภูเพ็ก สกลนคร
dot
bulletปฏิบัติการอัสวีน่า ปราสาทภูเพ็ก (Operation Ashvina 23 Sep 2019)
bulletพระพุทธรูปศิลปะขอมซ่อนอยู่ใต้โพรงหินที่ปราสาทภูเพ็ก.....สื่อถึงอะไร
bulletภูเพ็ก....เมกกะโปรเจค นครที่สาปสูญ
bulletปฏิบัติการวันสิ้นโลก 2012 ท้าพิสูจน์ที่ปราสาทภูเพ็ก สกลนคร
bulletความเป็นมาของปราสาทภูเพ็ก
bulletตลึง ! พบ “ฝายหินพันปี” กลางป่าภูเพ็ก
bulletครบรอบ 10 ปี การค้นพบ "สุริยะปฏิทินพันปี" ปราสาทภูเพ็ก
bulletปรากฏการณ์ดาราศาสตร์ "เหมายัน" 21 -22 ธันวาคม ที่ปราสาทภูเพ็ก
bulletเผยเทคนิคการออกแบบก่อสร้างปราสาทภูเพ็ก
bulletความเป็นมาของสุริยปฏิทิน
bulletพิสูจน์สุริยะวิถี กับปฏิทินมหาศักราชที่ปราสาทภูเพ็ก
bulletรับพลัง "สุริยันจันทรา" ประชันดาวหางแพนสตาร์
dot
เปิดโลกวิทยาศาสตร์
dot
bulletปลูกป่าส่วนตัว กับ 2050 Net Zero Mission Impossible?
bulletพิสูจน์เชิงประจักษ์ "ปลูกป่าให้โตเร็ว" ด้วยธนาคารน้ำใต้ดิน
bulletBiofloc ...... Fish Farm 4.0
bulletทำไมเดือนกุมภาพันธ์ มี 28 วัน
bulletBiofloc Farming เลี้ยงปลาระบบปิด Fisheries 4.0
bulletข้าวหอมมะลิใช้น้ำน้อย 2019
bulletClimate Change Mitigation & Adaptation "It's Now or Never"
bulletฟาร์มปลาเชิงพาณิชย์ใช้น้ำน้อยระบบ Biofloc
bulletข้าวหอมมะลิใช้น้ำน้อย 2561 (2018)
bulletGroundwater Bank (An alternative water management)
bulletข้าวหอมมะลิกับดาราศาสตร์ ปลูกปีละ 2 ครั้ง ได้หรือไม่?
bulletHow Herbal Medicine Works
bulletระบบให้น้ำโรงเรือนปลูกผักบริษัทประชารัฐ สกลนคร
bulletป่าเศรษฐกิจครอบครัวทางเลือกใหม่ win win ทั้งชาวบ้านและรัฐบาล
bulletEarth and Space Class
bulletวิเคราะห์ฤกษ์รัตนโกสินทร์ในมุมวิทยาศาสตร์
bulletปฏิบัติการพิมาย ชาตินี้มีครั้งเดียว Operation Phimai Once or Never
bulletนาฬิกาแดดโรงเรียนวิถีธรรม ม.ราชภัฏสกลนคร
bulletทำไมชาวมายาในเม็กซิโกจึงมีรูปร่างหน้าเหมือนคนเอเซีย
bulletปรากฏการณ์ดวงอาทิตย์ตรงศรีษะ (sun overhead)
bulletเกาะติดไปกับยาน New Horizons เผยความลับพลูโต "ดาวเคราะห์ลูกเมียน้อย"
bulletทำนาน้ำน้อยแต่ผลผลิตสูง เป็นไปได้หรือไม่ More Rice With Less Water?
bullet21-22 มิถุนายน ปรากฏการณ์ดาราศาสตร์ "ครีษมายัน" Summer Solstice กลางวันยาวที่สุดในรอบปี
bulletดางหาง ISON ปรากฏการณ์ดาราศาสตร์ปิดท้ายปี 2556
bulletมองหมากเม่าผ่านมิติดาราศาสตร์
bulletดาราศาสตร์ที่เราเห็น.....ล้วนเป็นภาพลวงตา
bulletเข้าพรรษาบางปีทำไมต้องเดือน 8-8
bulletประสบการณ์ตรงเรื่อง "ยูเอฟโอ" ผมคิดแบบวิทยาศาสตร์
bulletเกาะติดการค้นหาชีวิตบนดาวอังคาร กับยาน Curiosity
bulletหม้อหุงข้าวพลังแสงอาทิตย์ นวัตกรรมติดดิน
bulletนาฬิกาแดดต้นแบบมิติเวลาของมนุษยชาติ
bulletภาคปฏิบัติ....วัดโลกทั้งใบด้วยไม้แท่งเดียว
bulletการอบรมเชิงปฏิบัติการ "อีราโทสทีเนส"
bulletชวนครูไทย วัดโลกทั้งใบ ด้วยไม้แท่งเดียว
dot
จับประเด็นร้อน
dot
bulletอะไรจะเกิดขึ้นถ้าแม่น้ำโขงเผชิญกับสภาพ "ไร้ตะกอน" (Hungry River)
bulletฤาตำนานหนองหารล่ม.....จะกลายเป็นเรื่องจริง
bulletทำไมคนถึงอยากครอบครอง "ดอนสวรรค์" ในบึงหนองหาร สกลนคร
bulletกู้ "หนองหาร" ด้วยมือเรา.....เริ่มต้นที่บ้าน
bulletบทเรียนอันเจ็บปวดของเขื่อนในอเมริกา....ฤา จะสะท้อนสามแสนล้านบาทเพื่อจัดการน้ำของไทย
bulletโบราณวัตถุพันปีสกลนคร....อยู่ในภาวะเสี่ยงสูญหาย
bulletภัยมืดรุกชาวสกล...จากสาหร่ายพิษในหนองหาร
bulletน้ำท่วม "ตัวเมืองสกล" บทเรียนที่น่าจะถึงเวลาสรุปเสียที
bulletพายุ "นกกระเตน" ทำเสียหายสวนยางเมืองสกล
bulletฤา...นโยบาย 300 บาท จะช่วยบรรเทาปัญหา “หัวดำออก หัวหงอกเลี้ยง”
dot
อินเดียน่าโจนส์ (ภาคสรรค์สนธิ)
dot
bulletThe Cosmic Code of Borobudur รหัสจักรวาลแห่งบูโรพุทโธ
bulletThe Riddle of Ayutthaya
bulletทำไมวันปีใหม่ต้องเป็น 1 มกราคม? Why does the new year begin on January 1 ?
bulletผลการดูงานสหกรณ์การเกษตรประเทศไต้หวัน 23 - 26 สิงหาคม 2559
bulletประกาศิตเทพเจ้ากูกูลข่าน The Return of God Kukulkan
bulletวางผังเมืองเชียงใหม่ด้วยวิธีดาราศาสตร์
bulletกุมภาพันธ์ ปี "อธิกสุรทิน" ทำไมต้อง 29 วัน
bulletมองผ่านประตูพระธาตุพนมในอีกมุม
bulletจับพิรุธรูปสลักหินอ่อน "กษัตริย์เดวิท" ที่เมืองฟอร์เรนซ์
bulletย้อนอดีตกรุงเก่าอยุธยา ถือฤกษ์ "รามนะวามิ"
bulletท่อน้ำศักดิ์สิทธิ์ "โสมสูตร" ที่ปราสาทขอมในกัมพูชาหายไปไหนหมด
bulletอาทิตย์ตั้งฉากกับพุทธสถานชื่อดังในวันวิสาขบูชาโลก
bulletปราสาทพิมายในมุมมองวิทยาศาสตร์
bulletมองปราสาทขอม ในแง่มุมดาราศาสตร์ การเมือง และความเชื่อ โดยนักรบออนไลน์ กับไกด์มืออาชีพ
bulletตรุษจีน ตรุษเวียต ตรุษไทสกล และบุญเบิกฟ้า
bulletปริศนา "ปราสาทบายน" ฤา.....มนุษยชาติจะผ่านพ้นความขัดแย้ง
bulletประสูติ ตรัสรู้ ปรินิพพาน ทำไมต้องใช้ชื่อว่า "วิสาขะ"
bulletราหู.....น้ำอมฤต.....สนามบินสุวรรณภูมิ
bulletอาณาจักร "ทวารวดี" ทำไมจึงล่มสลาย
bullet"มาฆบูชา" ทำไมต้องใช้ชื่อนี้
bullet"ทัชมาฮาล" ในมุมมองดาราศาสตร์
bulletคำสอนพุทธองค์เปล่งประกายอีกครั้งในดินแดนภารตะ
bulletเมือง "สารนาท" ที่มาแห่งวันอาสาฬหบูชา
bulletแกะรอย "สุริยะเทพ" ที่ปราสาทพนมบาเค็ง
bulletถอดความศิลาจารึกพระเจ้าชัยวรมันที่ 7 พบ "ฤกษ์อโรคยาศาล"
bulletปราสาทหินพิมาย กับสามเหลี่ยมพุทธมหายาน
bulletจากพระธาตุเชิงชุม ถึงพุทธคยา
bulletถอดรหัสขอมพันปี 80 องศา พบราศีเมษ
bulletไขปริศนาปราสาทพนมรุ้ง
bullet13 เมษายน 2551 วันสงกรานต์ จริงหรือ ?
bullet21 มี.ค. 51 ปรากฏการณ์ทางดาราศาสตร์ที่ยิ่งใหญ่ของโลก
bulletตำนานวันปีใหม่ มิติแห่งกาลเวลาของมนุษยชาติ
bulletเข้าพรรษา ปี 2550 ทำไมต้องมีเดือนแปดสองหน
bulletมหาสงกรานต์ 13–15 เม.ย.
bulletปฏิบัติการอีราโตสทีเนสวัดโลกทั้งใบ ด้วยไม้แท่งเดียว
bulletบ่าวคำหอม ล่ะเบ๋อ
bulletแวดวง BCL.
bulletปฏิบัติการ "อีราโทสทีเนส" วัดเส้นรอบวงโลกด้วยไม้แท่งเดียว




ข้าวหอมมะลิกับดาราศาสตร์ ปลูกปีละ 2 ครั้ง ได้หรือไม่?

 

       เหตุผลทางดาราศาสตร์ ....... ปลูกข้าวหอมมะลิปีละ 2 ครั้ง และใช้น้ำน้อย ได้หรือไม่ ?

        เป็นที่กล่าวโดยทั่วไปในวงการเกษตรว่า "ข้าวหอมมะลิ" เป็นข้าวนาปีปลูกได้ครั้งเดียวเพราะมีคุณสมบัติ "ไวต่อช่วงแสงอาทิตย์" (Photosensitive) แต่ในมุมมองเชิงพาณิชย์ตลาดมีความต้องการสูง คำถามจึงอยู่ที่ ........ ปลูกปีละ 2 ครั้งได้หรือไม่

 

 

          ถ้าวิเคราะห์เจาะลึกคุณสมบัติทางดาราศาสตร์ในประเด็นที่ระบุว่าข้าวขาวดอกมะลิ 105  "ไวต่อช่วงแสงอาทิตย์" (Photosensitive) ก็แสดงว่าข้าวชนิดนี้สามารถตั้งท้องและออกดอกได้ในช่วง "กลางวันสั้น" (Short Day) ดังนั้นถ้าจัดช่วงการปลูกให้ดีก็ย่อมทำได้ปีละ 2 ครั้ง เนื่องจากภาคอีสานมีช่วงกลางวันสั้นตั้งแต่ 23 กันยายน (Autumnal Equinox) จนถึง 21 มีนาคม (Vernal Equinox)

         ต้องยกเครดิตให้นักวิชาการเกษตรผู้มากด้วยประสบการณ์ชื่อ "อาจารย์เสถียร พรหมชัยนันท์" แห่งกลุ่มธุรกิจพืชครบวงจร เครือเจริญโภคภัณฑ์ เป็นผู้ริเริ่มปลูกข้าวหอมมะลินาปรังเชิงพาณิชย์ในภาคอิสานที่โคราชเมื่อปี 2547

 

 

 ปลูกข้าวหอมมะลิฤดูนาปรังที่โคราช ปี 2547

 

  

ข้าวหอมมะลินาปรังเชิงพาณิชย์ ปลูกโดยวิธีหว่านวันที่ 8 มกราคม 2547 เก็บเกี่ยววันที่ 22 เมษายน 2547 ที่บ้านมะเกลือใหม่ ต.มะเกลือใหม่ อ.สูงเนิน นครราชสีมา อาจารย์เสถียร พรหมชัยนันท์ (เสื้อสีแดง) และอาจารย์มนตรี คงตระกูลเทียน ประธานกลุ่มธุรกิจพืชครบวงจรเครือเจริญโภคภัณฑ์ (เสื้อสีขาว) 

 

ผมกับอาจารย์เสถียร พรหมชัยนันท์ ร่วมงานกันตั้งแต่ปี 2541

ในโครงการผลิตข้าวหอมมะลิเชิงพาณิชย์กับกลุ่มธุรกิจพืชครบวงจร

เครือเจริญโภคภัณฑ์  

 

พี่แอ้ด สมบัติ เมทินี สรรค์สนธิ บุณโยทยาน และอาจารย์เสถียร พรหมชัยนันท์

นั่งประชุมด้วยกันที่สำนักงานกลุ่มธุรกิจพืชครบวงจรเครือเจริญโภคภัณฑ์

พี่แอ้ดรับผิดชอบการประชาสัมพันธ์ ผมรับผิดชอบเรื่องการจัดการน้ำ

อาจารย์เสถียร รับในเรื่องการเพาะปลูกข้าวหอมมะลิ

 

       ดาราศาสตร์กับข้าวหอมมะลิ

           ก่อนอื่นขอทำความเข้าใจศัพท์คำว่า "นาปี และนาปรัง" ว่าหมายถึงอะไร โดยทั่วไปนาปีหมายถึง "ฤดูฝน" ส่วนนาปรังหมายถึง "ฤดูแล้ง" แต่คำนี้เป็นเชิงวาทะกรรมที่กว้างๆให้มองภาพแบบรวมๆของฤดูกาล แต่ในทางดาราศาสตร์เราใช้ศัพท์คำว่า "วันที่มีช่วงแสงอาทิตย์สั้น" (short day) เริ่มนับตั้งแต่วันที่ 24 กันยายน จนถึงวันที่ 20 มีนาคม และ "วันที่มีช่วงแสงอาทิตย์ยาวยาว" (long day) เริ่มนับตั้งแต่วันที่ 22 มีนาคม จนถึงวันที่ 22 กันยายน ส่วนวันที่ 21 มีนาคม และวันที่ 23 กันยายน เป็นปรากฏการณ์ "กลางวันเท่ากับกลางคืน" ภาษาดาราศาสตร์เรียกว่า "วิษุวัต" (equinox) ดังนั้นในบทความนี้ถ้าใช้คำว่า "นาปรัง" จึงหมายถึง "ช่วงวันสั้น" ครับ 

          ผมทำงานร่วมกับท่านอาจารย์เสถียร พรหมชัยนันท์ ตั้งแต่ปี 2541 และรับหน้าที่อธิบายในด้านดาราศาสตร์ว่าทำไมข้าวหอมมะลิจึงสามารถเป็นข้าวนาปรังหรือปลูกรอบที่สองได้ เพราะปลูกในช่วงวันสั้น (Short Day) สามารถกระตุ้นให้ข้าวออกดอกในช่วงเดือนกุมภาพันธ์ ท่านอาจารย์เสถียรฯให้วาทะกรรมเด็ดว่า ........ หว่านวันพ่อเก็บเกี่ยววันมาฆบูชา

 

 

กำหนดการปลูกข้าวหอมมะลิในช่วง "กลางวันยาวและกลางวันสั้น"

ภาคอีสาน (เส้นรุ้ง 15 - 17 องศาเหนือ) ข้าวหอมมะลิสามารถตั้งท้องได้

ตั้งแต่ปลายเดือนกันยายน (23 Sep Autumnal Equinox) จนถึงเดือนปลายเดือนกุมภาพันธ์

 

 

การจัดช่วงเวลาปลูกข้าวหอมมะลิ 105 ช่วงนาปี และนาปรัง

จะเห็นว่าข้าวเริ่มตั้งท้อง (Booting) ในช่วงวันสั้น (Short Day) 

 

 การกำหนดช่วงเวลาปลูกข้าวหอมมะลิ 105 ครั้งที่สอง (นาปรัง)

ต้องเริ่มเพาะกล้าวันที่ 20 พฤศจิกายน และตกกล้าวันที่ 2 มกราคม

(อายุกล้าประมาณ 40 วัน เพราะเป็นฤดูหนาวกล้าโตช้ามาก)

 

 การปลูกข้าวหอมมะลิกับช่วงวันยาวและวันสั้นตามฤดูกาลของปฏิทินมหาศักราช (Saka Calendar) 

 

้องกับ

สุริยะปฏิทินขอมพันปีแสดงตำแหน่งดวงอาทิตย์ตามปฏิทินมหาศักราชและสอดกับการปลูกข้าวหอมมะลิ

 

สุริยะปฏิทินขอมพันปีปราสาทภูเพ็กแสดงตำแหน่งดวงอาทิตย์

ในปรากฏการณ์สำคัญทางดาราศาสตร์

 

 เปรียบเทียบช่วงแสงอาทิตย์ด้วยสุริยะปฏิทินกับการออกดอกของข้าวหอมมะลิปลูกช่วงวันสั้น

 

สุริยะปฏิทิน (เงานาฬิกาแดดชี้เข้าไปในโซนกลางวันสั้น)

แสดงให้เห็นชัดเจนว่าข้าวหอมมะลิตั้งท้องในช่วงวันสั้น (Short Day)

เดือนกุมภาพันธ์และออกดอกต้นเดือนมีนาคม 

 

 

        ตัวอย่างการปลูกข้าวหอมมะลิครั้งที่สองในภาคอีสาน

           กลุ่มธุรกิจพืชครบวงจรเครือเจริญโภคพันธ์ุทำแปลงสาธิตข้าวหอมมะลินาปรังร่วมกับจังหวัดยโสธรและจังหวัดนครพนม โดยใช้ยุทธการ "หว่านวันพ่อ เก็บเกี่ยววันมาฆะบูชา" 

 

 

อาจารย์เสถียร พรหมชัยนันท์เจ้าของยุทธการ "หว่านวันพ่อ เก็บเกี่ยววันมาฆบูชา"

ที่บ้านท่าค้อ ต.ขุมเงิน อ.เมือง จ.ยโสธร ปี 2547

 

ใช้ยุทธการหว่านวันพ่อเก็บเกี่ยววันมาฆบูชา อ.เมือง จ.นครพนม ปี 2547

เมื่อครั้งที่ผมเป็นเกษตรและสหกรณ์จังหวัด

 

      ให้ความรู้แก่นักศึกษาวิชาพืชศาสตร์ ม.ราชภัฏสกลนคร ..... พิสูจน์เชิงประจักษ์

          พอบอกนักศึกษาว่าจะสาธิตการปลูก "ข้าวหอมมะลินาปรัง ปี 2560 / 2561 หรือ 2017 / 2018" ....... เด็กๆต่างทำท่าแปลกใจเพราะเขาเรียนหนังสือตามตำราว่า "ข้าวหอมมะลิ" เป็นข้าวพันธ์ุไวต่อช่วงแสงปลูกได้เฉพาะนาปีเท่านั้น เลยต้องอธิบายกันยกใหญ่ว่าความเป็นจริงโดยหลักวิชาการไม่มีคำว่า "นาปี หรือนาปรัง" มีแต่คำว่าปลูกข้าวในช่วงกลางวันยาว (long day) หรือกลางวันสั้น (short day) ข้าวพันธ์ุไวต่อช่วงแสงก็สามารถออกดอกได้ตลอดเวลาถ้าเป็นช่วงวันสั้น ....... อธิบายยังไงน้องเหล่านี้ก็ยังไม่เชื่อก็ต้องใช้วิธี "สิบปากว่าไม่เท่าตาเห็น"

 

 

เพาะกล้าในถาดหลุม 22 พฤศจิกายน 2560 (22 Nov 2017)

 

ปักดำในแปลงสาธิตที่สาขาวิชาพืชศาสตร์ คณะเทคโนโลยีการเกษตร

ม.ราชภัฏสกลนคร วันที่ 25 ธันวาคม 2560 (25 Dec 2017)

 

แตกกอจากกล้าเพียงต้นเดียว 

 

การเจริญเติบโตของข้าวหอมมะลิตั้งแต่ 9 มกราคม ถึง 2 มีนาคม 2561

(9 Jan - 2 Mar 2018)

 

ภาพถ่ายวันที่ 2 มีนาคม 2561 ข้าวหอมมะลิกำลังออกดอก  

 

ออกดอกปลายเดือนกุมภาพันธ์ 2561 แต่แปลงนี้ถูกนกกินหมดไม่สามารถเก็บเกี่ยวได้

แต่ก็ได้ผลในด้านการให้ความรู้แก่นักศึกษาวิชาพืชศาสตร์

 

ฤดูแล้งปี 2561 / 2562 (2018 / 2019) ทดลองใหม่อีก

 

 

เพาะกล้า 12 พฤศจิกายน 2561 (12 Nov 2018) 

 

ปักดำตรงกับวันดินโลก 5 ธันวาคม 2561 (5 Dec 2018)

 

ออกดอก 1 กุมภาพันธ์ 2562 (1 Feb 2019) 

 

แปลงทดลองข้าวหอมมะลิฤดูแล้ง 2561 / 2562 (2018 / 2019)  

แม้ว่าจะทำตาข่ายกันนก แต่ก็เกิดอุบัติเหตุลมพายุพัดตาข่ายพัง

นกเข้ามากินผลผลิตจนเกลี้ยง

 

          ไฟต์ล้างตา ปลูกข้าวหอมมะลิฤดูแล้ง 2562 / 2563 + ทดลองการใช้น้ำน้อย                

             จากผลการทดลองในฤดูแล้ง 2560 / 2561 และ 2561 / 2562 พบว่าข้าวหอมมะลิสามารถตั้งท้อง ออกดอก และติดเมล็ดได้แต่มีปัญหาถูกบรรดา "นกรุมกินจนหมดเกลี้ยง"  

            คราวนี้ฤดูแล้ง 2562 / 2563 เอาใหม่อีก วางแผนกำหนดให้มีอายุ 120 วัน (20 พฤศจิกายน 2562 - 21 มีนาคม 2563) ณ แปลงของสาขาวิชาพืชศาสตร์ คณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร โดยให้นักศึกษาเอกพืชศาสตร์ 2 คน คือ น้องปาเกียว และน้องวิทย์ เป็นผู้รับผิดชอบ มีตาข่ายคลุมแปลงป้องกันนกที่แข็งแรงมั่นคง 

                        ข้าวหอมมะลินาปรัง 2562 / 2563 เป็นการปลูกต่อเนื่องกับข้าวหอมมะลิฤดูนาปี 2562 ดังรายละเอียดใน website เดียวกันนี้

 

ลำดับขั้นตอนการปลูกข้าวหอมมะลิฤดูนาปี 2562 (2019)

 

อิทธิพลของแสงอาทิตย์ต่อการปลูกข้าวหอมมะลินาปี 2562 (2019)

เริ่มเพาะกล้า 1 สิงหาคม ปักดำ 29 สิงหาคม ตั้งท้อง 23 กันยายน

ออกดอก 23 ตุลาคม เก็บเกี่ยว 21 พฤศจิกายน

 

การประเมินผลผลิตข้าวหอมมะลิฤดูนาปี 2562 (2019)

 

ข้าวหอมมะลิฤดูแล้ง ปี 2562 / 2563 (2019 / 2020)

พิสูจน์เชิงประจักษ์ ........ ได้ผลหรือไม่?

 

นักศึกษาปี 3 เอกพืชศาสตร์ น้องวิทย์ และน้องปาเกียว ผู้รับผิดชอบทำแปลงทดลอง

 

 เพาะกล้าข้าวหอมมะลิ วันที่ 20 พฤศจิกายน 2562 เป็นช่วงฤดูหนาวกล้าจะโตช้า

(seedling 29 Nov 2019)

 

เตรียมดินวันที่ 2 มกราคม 2563 (2 Jan 2020)

 

 ปักดำด้วยกล้าต้นเดียว วันที่ 2 มกราคม 2563 มีน้ำแช่ในแปลงเพื่อกดวัชพืชประมาณ 10 วัน

 เป็นที่น่าสังเกตว่ากล้าอายุ 40 วัน เพราะเป็นฤดูหนาวทำให้กล้าโตช้า

 

มื่อต้นกล้าตั้งตัวได้แล้วและวัชพืชหายไป ก็ลดระดับน้ำให้พอเปียกๆ ไม่ต้องมีน้ำขัง

 

ใช้ท่อ PVC เป็นตัวช่วยวัดระดับน้ำในแปลงไม่เกิน 5 ซม  

 

ไม่จำเป็นต้องให้มีน้ำขังในแปลง แต่ต้องรักษาความชื้นเพียงพอต่อความต้องการ 

 

การให้น้ำแต่ละครั้งอยู่ที่ความลึกประมาณ 5 ซม 

 

ทดลองระยะห่างการตกกล้า 35 ซม x 35 ซม กับ 25 ซม x 25 ซม

สังเกตชัดเจนว่าไม่มีน้ำขังในแปลง

 

เปรียบเทียบการให้มีน้ำขังในระยะแรกของการตั้งตัวและลดระดับน้ำเมื่อกล้าตั้งตัวได้แล้ว

 

ข้าวเริ่มระยะตั้งท้อง 20 มกราคม 2563 (20 Jan 2020)

ดวงอาทิตย์อยู่ที่ตำแหน่งทิศตะวันออกเฉียงใต้ของปราสาทภูเพ็ก

 

 

ระยะออกดอก 20 กุมภาพันธ์ 2563 ดวงอาทิตย์อยู่ที่ตำแหน่งราศี Pices  

 

ระยะติดเมล็ด 10 มีนาคม 2563 ใช้ตาข่ายคลุมแปลงป้องกันนก 

 

เก็บเกี่ยว 21 มีนาคม 2563 ตรงกับปรากฏการณ์ "วสันตวิษุวัต" (vernal equinox)

 

สังเกตว่าข้าวหอมมะลิมีความสูงไม่มากนักจึงไม่มีปัญหา "ข้าวล้ม" 

 

ข้าวหอมมะลิมีผลผลิตตั้งแต่ 303 กก/ไร่ - 528 กก/ไร่ 

 

สูตรการคำนวณผลผลิต ณ 15% ความชื้น ( % of Standard moisture) 

 

อายุข้าวหอมมะลิปลูกในช่วงวันสั้น (นาปรัง) มีอายุ 120 วัน 

 

ตารางการปลูกข้าวหอมมะลิฤดูแล้ง 2562 / 2563 (2019 / 2020)

ให้สอดคล้องกับช่วงแสงอาทิตย์ตามหลักดาราศาสตร์ 

 

ประมวลผลการใช้น้ำชลประทานตลอดอายุ 120 วัน = 685 mm

 

สรุปผลการทดลองปลูกข้าวหอมมะลิครั้งที่สองในฤดูแล้ง 2562 / 2563 (2019 / 2020)

 

        สรุป

 

          พิสูจน์เชิงประจักษ์ สามารถปลูกข้าวหอมมะลิในฤดูแล้ง โดยจัดตารางให้สอดคล้องกับช่วงแสง        อาทิตย์ ตามหลักดาราศาสตร์

          1.ในเมื่อข้าวหอมมะลิเป็นที่ต้องการของตลาดอย่างมาก หากพื้นที่ในภาคอีสานที่มีน้ำชลประทานพร้อมและดินมีความเหมาะสมก็น่าจะปลูกข้าวหอมมะลิครั้งที่สอง ขณะเดียวกันก็สามารถควบคุมการให้น้ำชลประทานแบบประหยัดโดยหลีกเลี่ยงน้ำขังในแปลงนา (ใช้น้ำน้อย) การที่ไม่มีน้ำขังในแปลงนายังมีผลดีในแง่มุมของสิ่งแวดล้อม คือ "ลดการปล่อยก๊าซมีเทน" 

          2.สามารถทำแปลงผลิต "เมล็ดพันธ์ุ" ได้อย่างดีเพราะไม่เสี่ยงต่อการผสมข้ามพันธ์ุกับข้าวชนิดอื่นๆเนื่องจากข้าวหอมมะลินาปรังมีอายุสั้นและออกดอกเร็วกว่าข้าวพันธ์ุอื่นๆ ประกอบกับสามารถจัดหาพื้นที่เฉพาะซึ่งไม่มีการทำนาในบริเวณนั้น และหากต้องการจะทำโครงการผลิตเมล็ดพันธ์ุในรูปแบบ "อินทรีย์" ก็สามารถทำได้ด้วยการบริหารจัดการดิน - น้ำ และพื้นที่ปลูกให้แยกอย่างเด็ดขาดจากการเพาะปลูกทั่วๆไป 

         3.ปัญหาของข้าวนาปรังที่ต้องระวังมากที่สุดคือ "บรรดาปักษี" ที่จะรุมกินจนอย่างเอร็ดอร่อยจึงต้องมีมาตรการที่เหมาะสม เช่น อุปกรณ์ไล่นกด้วยคลื่นเสียง

              4. แปลงที่ใช้ในการทดลองไม่ค่อยอุดมสมบูรณ์เนื่องจากไม่ใช่ที่นาโดยธรรมชาติแต่เป็นที่ดินใช้ก่อสร้างอาคาร เหตุผลที่เลือกสถานที่แห่งนี้เนื่องจากอยู่ใกล้อาคารสาขาพืชศาสตร์สามารถดูแลได้ง่าย  

 

 

 

 







Copyright © 2010 All Rights Reserved.
มูลนิธิเพื่อการพัฒนาผู้นำธุรกิจและชุมชน
The Foundation for Business and Community Leadership Development
โดย
นายอารีย์ ภู่สมบูญ
ประธานกรรมการมูลนิธิฯ