ReadyPlanet.com
dot
dot
สืบเสาะเจาะลึกเมืองสกล
dot
bulletMegalithic Gate of Equinox ...... Sakon Nakhon Thailand
bulletปฏิทินท่องเที่ยวดาราศาสตร์และโหราศาสตร์เมืองสกล Mar 2024 - Feb 2025
bulletหนองหารหลวง ....... นครแห่ง "สุริยะปฏิทินพันปี"
bulletหนองหารหลวง ........ เมืองแห่ง "มหาสงกรานต์" จริงหรือ?
bulletปราสาทนารายณ์เจงเวง .....อะไรหายไปแล้ว อะไรเสี่ยงสูญหาย
bulletปราสาทภูเพ็ก ถูกดัดแปลง?
bulletสะพานขอมปัจจุบัน ....... โบราณสถานตัวจริง หรือสร้างใหม่?
bulletนาฬิกาแดดขนาดยักษ์เมืองสกล Google Earth ก็มองเห็น
bulletนาฬิกาแดดโรงเรียนวิถีธรรมเมืองสกล ...... มรดกจากบรรพชน
bulletSakon Hempmade มิติใหม่อุตสาหกรรมสิ่งทอ
bulletความรู้ปัจจุบัน ฤาจะเทียบชั้นกับวันวาน Ancient Wisdom V/S Digital Technology
bulletพบฐานรากปราสาทขอมใกล้ลำน้ำก่ำ
bulletปราสาทภูเพ็ก สกลนคร สุดๆแห่งปราสาทขอมในประเทศไทย
bulletปฏิบัติการภูเพ็ก ดอนสวรรค์ พิสูจน์คำทำนายซินแส ฮวงจุ้ยเมืองสกล
bulletสุริยะปฏิทินขอมพันปี
bullet "อาทิตย์ทรงกลด" ณ ปราสาทขอมเมืองสกล วิทยาศาสตร์ที่ลงตัวกับความเชื่อ
bulletโลกล้านปีที่แอ่งสกลนคร
bulletกลุ่มชาติพันธุ์ไทโส้ ....... เป็นใคร ....... มาจากไหน?
bulletพระยาสุระอุทก .......หนองหารหลวง ตำนานที่จับต้องได้
bulletรับพลังสุริยะยุคก่อนประวัติศาสตร์ ...... ที่สกลนคร
bulletกรมศิลปากรโยนหินถาม...เอกสารสิทธิ์ทับคูเมืองสกลโบราณ จะออกทางไหน
bulletหลากมิติอารยธรรม 4 ยุค "บ้านท่าวัด" ริมหนองหาร สกลนคร
bulletถอดจารึกขอม "ภูถ้ำพระ" ทำไมพระพุทธรูปไปอยู่ที่นั่น
bulletปราสาทขอมเมืองสกล.....เอาหินมาจากไหน ?
bulletพระธาตุดุม....ในอีกมุมมอง
bulletมุมมองใหม่ "สะพานขอม" ฝายทดน้ำชลประทาน
bulletไขความลับปราสาทนารายณ์เจงเวง
bulletหนองหารหลวงเมืองหน้าด่าน ยันกับอาณาจักรจาม
bulletไขประตูสู่อดีตพระธาตุเชิงชุม ...... ในอีกมุมมอง
bulletประตูเมืองโบราณสกลนครอยู่ตรงไหน
bulletปฏิบัติการ "มหาสงกรานต์" ไขปริศนาจารึกเมืองสกลโบราณ
dot
เปิดประเด็นการท่องเที่ยว
dot
bulletปราสาทบ้านปรางค์ มิติดาราศาสตร์และศาสตร์แห่งความเชื่อ
bulletปลานิล Biofloc "Safe and Saab"
bulletStory Board มหัศจรรย์ปราสาทภูเพ็ก ตำนานที่จับต้องได้
bulletเรือท่องเที่ยวหนองหารขับเคลื่อนด้วยพลังงานไฟฟ้า
bulletตัวอย่าง เส้นทางท่องเที่ยวสกลนคร 2 วัน 1 คืน
bulletยุทธศาสตร์การท่องเที่ยวเส้นทาง "ราชมรรคา"
bulletTourism Gimmick
bulletTourism Project Proposal
bulletสุริยะปฏิทินจักรราศีดอนสวรรค์ Don Sawan Zodiacal Solar Calendar
bulletSt.Peter's Fish โปรโมทการท่องเที่ยวและสร้างอาชีพใหม่....สกลนคร
bulletBig Project Tourism SNO
bulletAdventure Tourism (Search-Found-Selfie) ลุยป่าค้นหาขอมพันปี
dot
ปฏิบัติการดาราศาสตร์ Operation Astronomy
dot
bulletOperation Equinox 2024
bulletOperation Spica .... ไขปริศนา "เมืองโบราณศรีเทพ"
bulletย้อนอดีต "ราหูอมสุริยา" ก่อนเปลี่ยนแผ่นดินสมเด็จพระนารายณ์มหาราช
bulletOperation Rahu Episode XV วัดระยะทาง โลก - ดวงจันทร์ - ดวงอาทิตย์
bulletเจาะลึกเบื้องหลังเมืองโบราณศรีเทพ Operation Spica EP 2
bulletOperación Intercontinental Solsticio de Invierno ปฏิบัติการดาราศาสตร์ เห-มา-ยัน ข้ามทวีป ไทย - เม็กซิโก ธันวาคม 2022
bulletOperation Rahu Episode XIV Total Lunar Eclipse 8 Nov 2022 How Far is The Moon?
bulletOperation Transcontinental Equinox 2022 ปฏิบัติการวสันตวิษุวัตข้ามทวีป 2565
bulletOperation Chou Li Episode V ..... Earth's axis tilt 23.5?
bulletOperation Rahu Episode XIII How Far is the Moon (Lunar Eclipse 26 May 2021)
bulletOperation Bhishma Winter Solstice 2020 finding Earth's axis tilt
bulletOperation Rahu Episode XII Solar Eclipse and Summer Solstice 21 June 2020 How far and how big is the sun
bulletOperation Rahu Episode XI How far is the sun
bulletปฏิบัติการราหู ครั้งที่ 10 (Operation Rahu X) วัดระยะทางโลก - ดวงอาทิตย์ ปรากฏการณ์สุริยะปราคาเต็มดวง
bulletปฏิบัติการชูหลี 4 มุมเอียงโลกยังคง 23.5 หรือไม่ (Operation Chou Li Episode IV)
bulletOperation Eratosthenes Episode II Mar 21, 2019 Measure Earth's circumference with one stick
bulletปฏิบัติการวันสิ้นโลกภาคสาม Operation Doomsday Episode III
bulletOperation Galileo Episode II วัดความเร็วของโลก "หมุนรอบตัวเอง (Rotation) และโคจรรอบดวงอาทิตย์ (Revolution)"
bulletOperation Rahu IX 28 July 2018 Total Lunar Eclipse วัดระยะทางโลก - ดวงจันทร์
bulletOperation Rahu VIII Measuring Distance Earth-Moon ปฏิบัติการข้ามทวีป Thailand - USA
bulletOperation Chou Li Episode III (Measure Earth Axis Tilt With One Stick)
bulletปฏิบัติการไจตระ ถอดรหัสคณิตศาสตร์ขอมพันปี ปราสาทภูเพ็ก สกลนคร
bulletปฏิบัติการดาราศาสตร์ข้ามทวีป Operation Transcontinental Equinox 2016
bulletOperation Bhishma 2016 ปฏิบัติการดาราศาสตร์ข้ามทวีป ..... การหมุนรอบตัวเองและวงโคจรของโลกยังคงปกติหรือไม่?
bulletวัดมุมเอียงของโลก...ด้วยไม้แท่งเดียว
bulletOperation Rahu Episode I measuring earth to moon วัดระยะทางจากโลกถึงดวงจันทร์ ในปรากฏการณ์จันทรุปราคาเต็มดวง
bulletOperation Rahu Episode II สูตรใหม่คำนวณระยะทางโลกไปดวงจันทร์
bulletปฏิบัติการ "เจนัส" วัดมุมเอียงของโลก
bulletOperation Rahu Episode III 4 April 2015 วัดระยะทางโลกไปดวงจันทร์
bulletปฏิบัติการเวกัส 2558 "อีราโต้สทีเน้ส " ภาค 2 วัดโลกทั้งใบด้วยไม้แท่งเดียว
bulletOperation Rahu Episode IV วัดระยะทางโลก - ดวงจันทร์
bulletปฏิบัติการชูหลี (Operation Chou Li) ยืนยันมุมเอียงโลก 23.5 องศา
bulletOperation Rahu Episode V วัดระยะทางโลก - ดวงอาทิตย์
bulletOperation Rahu Episode VI How far and how big is the Moon
bulletOperation Rahu Episode VII How far and how big is the sun
bulletOperation Chou Li Episode II (Measuring Earth's Tilt)
bulletวัดโลกทั้งใบ ไทย กัมพูชา ปฏิบัติการ "อีราโตสทีเนส" ข้ามประเทศ
bulletปฏิบัติการ "กาลิเลโอ" วัดความเร็วการหมุนของโลกที่ปราสาทภูเพ็ก
bulletปฏิบัติการวันสิ้นโลกภาค 2 ข้ามทวีป ปราสาทภูเพ็ก สกลนคร VS ปีรามิดเผ่ามายา เม็กซิโก
dot
แนะนำผู้เขียน
dot
bulletนายกสโมสรโรตารีสกลนคร ปีบริหาร 2556 - 2557
bulletสรรค์สนธิ บุณโยทยาน
dot
สากกะเบือยันเรือรบ กับปราสาทภูเพ็ก สกลนคร
dot
bulletปฏิบัติการอัสวีน่า ปราสาทภูเพ็ก (Operation Ashvina 23 Sep 2019)
bulletพระพุทธรูปศิลปะขอมซ่อนอยู่ใต้โพรงหินที่ปราสาทภูเพ็ก.....สื่อถึงอะไร
bulletภูเพ็ก....เมกกะโปรเจค นครที่สาปสูญ
bulletปฏิบัติการวันสิ้นโลก 2012 ท้าพิสูจน์ที่ปราสาทภูเพ็ก สกลนคร
bulletความเป็นมาของปราสาทภูเพ็ก
bulletตลึง ! พบ “ฝายหินพันปี” กลางป่าภูเพ็ก
bulletครบรอบ 10 ปี การค้นพบ "สุริยะปฏิทินพันปี" ปราสาทภูเพ็ก
bulletปรากฏการณ์ดาราศาสตร์ "เหมายัน" 21 -22 ธันวาคม ที่ปราสาทภูเพ็ก
bulletเผยเทคนิคการออกแบบก่อสร้างปราสาทภูเพ็ก
bulletความเป็นมาของสุริยปฏิทิน
bulletพิสูจน์สุริยะวิถี กับปฏิทินมหาศักราชที่ปราสาทภูเพ็ก
bulletรับพลัง "สุริยันจันทรา" ประชันดาวหางแพนสตาร์
dot
เปิดโลกวิทยาศาสตร์
dot
bulletปลูกป่าส่วนตัว กับ 2050 Net Zero Mission Impossible?
bulletพิสูจน์เชิงประจักษ์ "ปลูกป่าให้โตเร็ว" ด้วยธนาคารน้ำใต้ดิน
bulletBiofloc ...... Fish Farm 4.0
bulletทำไมเดือนกุมภาพันธ์ มี 28 วัน
bulletBiofloc Farming เลี้ยงปลาระบบปิด Fisheries 4.0
bulletข้าวหอมมะลิใช้น้ำน้อย 2019
bulletClimate Change Mitigation & Adaptation "It's Now or Never"
bulletฟาร์มปลาเชิงพาณิชย์ใช้น้ำน้อยระบบ Biofloc
bulletข้าวหอมมะลิใช้น้ำน้อย 2561 (2018)
bulletGroundwater Bank (An alternative water management)
bulletข้าวหอมมะลิกับดาราศาสตร์ ปลูกปีละ 2 ครั้ง ได้หรือไม่?
bulletHow Herbal Medicine Works
bulletระบบให้น้ำโรงเรือนปลูกผักบริษัทประชารัฐ สกลนคร
bulletป่าเศรษฐกิจครอบครัวทางเลือกใหม่ win win ทั้งชาวบ้านและรัฐบาล
bulletEarth and Space Class
bulletวิเคราะห์ฤกษ์รัตนโกสินทร์ในมุมวิทยาศาสตร์
bulletปฏิบัติการพิมาย ชาตินี้มีครั้งเดียว Operation Phimai Once or Never
bulletนาฬิกาแดดโรงเรียนวิถีธรรม ม.ราชภัฏสกลนคร
bulletทำไมชาวมายาในเม็กซิโกจึงมีรูปร่างหน้าเหมือนคนเอเซีย
bulletปรากฏการณ์ดวงอาทิตย์ตรงศรีษะ (sun overhead)
bulletเกาะติดไปกับยาน New Horizons เผยความลับพลูโต "ดาวเคราะห์ลูกเมียน้อย"
bulletทำนาน้ำน้อยแต่ผลผลิตสูง เป็นไปได้หรือไม่ More Rice With Less Water?
bullet21-22 มิถุนายน ปรากฏการณ์ดาราศาสตร์ "ครีษมายัน" Summer Solstice กลางวันยาวที่สุดในรอบปี
bulletดางหาง ISON ปรากฏการณ์ดาราศาสตร์ปิดท้ายปี 2556
bulletมองหมากเม่าผ่านมิติดาราศาสตร์
bulletดาราศาสตร์ที่เราเห็น.....ล้วนเป็นภาพลวงตา
bulletเข้าพรรษาบางปีทำไมต้องเดือน 8-8
bulletประสบการณ์ตรงเรื่อง "ยูเอฟโอ" ผมคิดแบบวิทยาศาสตร์
bulletเกาะติดการค้นหาชีวิตบนดาวอังคาร กับยาน Curiosity
bulletหม้อหุงข้าวพลังแสงอาทิตย์ นวัตกรรมติดดิน
bulletนาฬิกาแดดต้นแบบมิติเวลาของมนุษยชาติ
bulletภาคปฏิบัติ....วัดโลกทั้งใบด้วยไม้แท่งเดียว
bulletการอบรมเชิงปฏิบัติการ "อีราโทสทีเนส"
bulletชวนครูไทย วัดโลกทั้งใบ ด้วยไม้แท่งเดียว
dot
จับประเด็นร้อน
dot
bulletอะไรจะเกิดขึ้นถ้าแม่น้ำโขงเผชิญกับสภาพ "ไร้ตะกอน" (Hungry River)
bulletฤาตำนานหนองหารล่ม.....จะกลายเป็นเรื่องจริง
bulletทำไมคนถึงอยากครอบครอง "ดอนสวรรค์" ในบึงหนองหาร สกลนคร
bulletกู้ "หนองหาร" ด้วยมือเรา.....เริ่มต้นที่บ้าน
bulletบทเรียนอันเจ็บปวดของเขื่อนในอเมริกา....ฤา จะสะท้อนสามแสนล้านบาทเพื่อจัดการน้ำของไทย
bulletโบราณวัตถุพันปีสกลนคร....อยู่ในภาวะเสี่ยงสูญหาย
bulletภัยมืดรุกชาวสกล...จากสาหร่ายพิษในหนองหาร
bulletน้ำท่วม "ตัวเมืองสกล" บทเรียนที่น่าจะถึงเวลาสรุปเสียที
bulletพายุ "นกกระเตน" ทำเสียหายสวนยางเมืองสกล
bulletฤา...นโยบาย 300 บาท จะช่วยบรรเทาปัญหา “หัวดำออก หัวหงอกเลี้ยง”
dot
อินเดียน่าโจนส์ (ภาคสรรค์สนธิ)
dot
bulletThe Cosmic Code of Borobudur รหัสจักรวาลแห่งบูโรพุทโธ
bulletThe Riddle of Ayutthaya
bulletทำไมวันปีใหม่ต้องเป็น 1 มกราคม? Why does the new year begin on January 1 ?
bulletผลการดูงานสหกรณ์การเกษตรประเทศไต้หวัน 23 - 26 สิงหาคม 2559
bulletประกาศิตเทพเจ้ากูกูลข่าน The Return of God Kukulkan
bulletวางผังเมืองเชียงใหม่ด้วยวิธีดาราศาสตร์
bulletกุมภาพันธ์ ปี "อธิกสุรทิน" ทำไมต้อง 29 วัน
bulletมองผ่านประตูพระธาตุพนมในอีกมุม
bulletจับพิรุธรูปสลักหินอ่อน "กษัตริย์เดวิท" ที่เมืองฟอร์เรนซ์
bulletย้อนอดีตกรุงเก่าอยุธยา ถือฤกษ์ "รามนะวามิ"
bulletท่อน้ำศักดิ์สิทธิ์ "โสมสูตร" ที่ปราสาทขอมในกัมพูชาหายไปไหนหมด
bulletอาทิตย์ตั้งฉากกับพุทธสถานชื่อดังในวันวิสาขบูชาโลก
bulletปราสาทพิมายในมุมมองวิทยาศาสตร์
bulletมองปราสาทขอม ในแง่มุมดาราศาสตร์ การเมือง และความเชื่อ โดยนักรบออนไลน์ กับไกด์มืออาชีพ
bulletตรุษจีน ตรุษเวียต ตรุษไทสกล และบุญเบิกฟ้า
bulletปริศนา "ปราสาทบายน" ฤา.....มนุษยชาติจะผ่านพ้นความขัดแย้ง
bulletประสูติ ตรัสรู้ ปรินิพพาน ทำไมต้องใช้ชื่อว่า "วิสาขะ"
bulletราหู.....น้ำอมฤต.....สนามบินสุวรรณภูมิ
bulletอาณาจักร "ทวารวดี" ทำไมจึงล่มสลาย
bullet"มาฆบูชา" ทำไมต้องใช้ชื่อนี้
bullet"ทัชมาฮาล" ในมุมมองดาราศาสตร์
bulletคำสอนพุทธองค์เปล่งประกายอีกครั้งในดินแดนภารตะ
bulletเมือง "สารนาท" ที่มาแห่งวันอาสาฬหบูชา
bulletแกะรอย "สุริยะเทพ" ที่ปราสาทพนมบาเค็ง
bulletถอดความศิลาจารึกพระเจ้าชัยวรมันที่ 7 พบ "ฤกษ์อโรคยาศาล"
bulletปราสาทหินพิมาย กับสามเหลี่ยมพุทธมหายาน
bulletจากพระธาตุเชิงชุม ถึงพุทธคยา
bulletถอดรหัสขอมพันปี 80 องศา พบราศีเมษ
bulletไขปริศนาปราสาทพนมรุ้ง
bullet13 เมษายน 2551 วันสงกรานต์ จริงหรือ ?
bullet21 มี.ค. 51 ปรากฏการณ์ทางดาราศาสตร์ที่ยิ่งใหญ่ของโลก
bulletตำนานวันปีใหม่ มิติแห่งกาลเวลาของมนุษยชาติ
bulletเข้าพรรษา ปี 2550 ทำไมต้องมีเดือนแปดสองหน
bulletมหาสงกรานต์ 13–15 เม.ย.
bulletปฏิบัติการอีราโตสทีเนสวัดโลกทั้งใบ ด้วยไม้แท่งเดียว
bulletบ่าวคำหอม ล่ะเบ๋อ
bulletแวดวง BCL.
bulletปฏิบัติการ "อีราโทสทีเนส" วัดเส้นรอบวงโลกด้วยไม้แท่งเดียว




Operation Rahu Episode V วัดระยะทางโลก - ดวงอาทิตย์

 ปฏิบัติการราหูภาค 5 วัดระยะทางโลก - ดวงอาทิตย์ (Operation Rahu Episode V) 

           ท่านผู้อ่านที่ติดตามผลงานของผมมาโดยตลอดคงทราบดีว่า "ปฏิบัติการราหู ภาค 1 - ภาค 4" (Operation Rahu Episode I - IV) เป็นการวัดระยะทางจากโลกไปดวงจันทร์ในปรากฏการณ์ "จันทรุปราคาเต็มดวง" ปฏิบัติการครั้งแรกเมื่อวันที่ 15 เมษายน 2557 ใช้สูตรดั้งเดิมของท่าน Aristarchus นักดาราศาสตร์ชาวกรีกโบราณเมื่อสองพันกว่าปีที่แล้ว ปฏิบัติการครั้งที่ 2 ถึงครั้งที่ 4 ได้พัฒนาต่อยอดสูตรของท่าน Aristarchus เป็นระบบดิจิต้อลใช้ภาพถ่ายชัดๆของราหูอมจันทร์เพียงรูปเดียวก็สามารถคำนวณระยะทางโลก - ดวงจันทร์ ได้ทันที อนึ่งการคำนวณในปฏิบัติการราหูจำเป็นต้องอาศัยตัวเลข "เส้นผ่าศูนย์กลางโลก" จาก "ปฏิบัติการอีราโต้สทีเนส ไทย - กัมพูชา" ซึ่งใช้มุมตกกระทบของดวงอาทิตย์ระหว่างปราสาทภูเพ็ก สกลนคร กับปราสาทบายน เมืองเสียมราช กัมพูชา รายละเอียดทั้งหมดนี้ท่านผู้อ่านสามารถเข้าชมได้ในบทความในเว้ปไซด์เดียวกันนี้

 

 

ปฏิบัติการอีราโต้สทีเนส วัดโลกทั้งใบไทย กัมพูชา เมื่อวันที่ 21 มีนาคม 2555 ได้ขนาดของโลกในรูปแบบเส้นรอบวงโลก และก็เส้นผ่าศูนย์กลางโลก 

 

ปฏิบัติการราหู ครั้งที่ 1 - 4 วัดระยะทางโลก - ดวงจันทร์

        

            วันที่ 9 มีนาคม 2559 เกิดปรากฏการณ์ "สุริยะคราส" (solar eclipse) ในมหาสมุทรแปซิฟิก โดยมีศูนย์กลางที่มองเห็นแบบ "เต็มดวง" (total solar eclipse) ที่ประเทศอินโดนีเซีย ส่วนบริเวณอื่นๆอย่างประเทศไทยและเพื่อนบ้านในแหลมทองจะมองเห็นแบบ "บางส่วน" (partial solar eclipse) ผมถือโอกาสทำปฏิบัติการดาราศาสตร์ภายใต้รหัส Operation Rahu Episode V เพื่อวัดระยะทางโลก - ดวงอาทิตย์ และวัดขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางดวงอาทิตย์ในคราวเดียว 

 

โลโก้ปฏิบัติการราหูภาค 5 

 

ไดอะแกรมแสดงการเกิดปรากฏการณ์ "สุริยะคราส" 

 

แผนที่แสดงเส้นทางของปรากฏการณ์ "ราหูอมสุริยะ" ในมหาสมุทรแปซิฟิก ประเทศอินโดนีเซียสามารถมองเห็นแบบเต็มดวง (total solar eclipse) ส่วนประเทศอื่นๆเช่น ประเทศไทย กัมพูชา และเวียดนาม มองเห็นได้แบบ "บางส่วน" (partial solar eclipse) 

 

      วิธีคำนวณระยะทางโลก - ดวงอาทิตย์

         เทคโนโลยีต้นแบบของท่าน Aristarchus of Samos เมื่อสองพันกว่าปีที่แล้ว 

          เบื้องต้นผมต้องขอกราบขอบพระคุณองค์ความรู้ของนักดาราศาสตร์ชาวกรีกยุคสองพันกว่าปีที่แล้ว ท่าน Aristarchus of Samos เป็นต้นคิดโดยเริ่มจากการคำนวณระยะทางไปดวงจันทร์ได้ค่อนข้างแม่นยำ (รายละเอียดในปฏิบัติการราหูภาค 1) จากนั้นท่านก็พยายามคำนวณระยะทางจากโลกไปดวงอาทิตย์โดยใช้วิชาเรขาคณิต แม้ว่าผลการคำนวณครั้งนั้นจะไม่ถูกต้องแต่ท่านก็ได้วางรากฐานแห่งแนวคิดเอาไว้อย่างดียิ่ง ผลงานของท่านสร้างแรงดลใจให้ผมในการค้นคว้าและพัฒนาวิธีการคำนวณด้วยเทคโนโลยีในยุค 4G

 

 

Aristarchus of Samos 310 - 230 BC นักคณิตศาสตร์และดาราศาสตร์ในยุคกรีกโบราณ ใช้หลักเรขาคณิตและสูตร angular diameter คำนวณระยะทางโลก - ดวงอาทิตย์ ได้ประมาณ 18 - 20 เท่า ของระยะทางโลก - ดวงจันทร์ แม้ว่าตัวเลขนี้จะไม่ถูกต้องแต่ก็เป็น "หลักการต้นแบบ" ให้นักดาราศาสตร์ปัจจุบันนำมาใช้คำนวณอย่างแม่นยำมากขึ้น

 

 

แนวคิดการคำนวณระยะทางโลก - ดวงอาทิตย์ ของท่าน Aristarchus โดยตั้งทฤษฏีว่าเมื่อดวงจันทร์โคจรเข้าสู่ตำแหน่งที่มองเห็น "ครึ่งดวง" ก็น่าจะตั้งฉากกับดวงอาทิตย์ ดังนั้นมุมที่ต่างกันระหว่างดวงจันทร์กับดวงอาทิตย์ (มุม X = 87 องศา) เมื่อเข้าสูตรเรขาคณิตในทฤษฏีสามเหลี่ยมมุมฉากจะได้ระยะทางโลก - ดวงอาทิตย์ ระหว่าง 18 - 20 เท่าของระยะทางโลก - ดวงจันทร์ อย่างไรก็ตามเป็นการยากมากถึงมากที่สุดสำหรับสายตามนุษย์ธรรมดาเมื่อสองพันกว่าปีที่แล้วในการวัดค่ามุมระหว่างตำแหน่งดวงจันทร์กับดวงอาทิตย์ ปัจจุบันนักวิทยาศาสตร์ใช้อุปกรณ์ไฮเทคสามารถวัดค่ามุม X ได้อย่างถูกต้องที่ตัวเลข 89 องศา 51 ลิปดา และทราบระยะทางโลก - ดวงอาทิตย์ เท่ากับ 400 เท่าของระยะทางโลก - ดวงจันทร์  

 

          ในยุคของท่าน Aristarchus เมื่อสองพันกว่าปีที่แล้วต้องใช้วิธีธรรมชาติที่เรียกว่า "ตาดู หูฟัง" ในการวัดมุมระหว่างดวงจันทร์กับดวงอาทิตย์ ท่านจึงวัดมุมดังกล่าวได้ 87 องศา คิดเป็นค่า Tan 87 = 19.08113669 (say 19) ดังนั้นสัดส่วนระหว่างระยะทาง โลก - ดวงจันทร์ : ME / MS = 1 / 19 อย่างไรก็ตามในยุคปัจจุบันเรามีเครื่องมือไฮเทคที่สามารถวัดมุมระหว่างดวงจันทร์กับดวงอาทิตย์อย่างแม่นยำ จึงได้ค่า 89.85 องศา คิดเป็นค่า Tan 89.85 = 381.97099076 และเพื่อให้เป็นตัวเลขที่ง่ายจึงปัดเป็น 400 สัดส่วน ME / MS = 1 / 400 

 

 

 

         ปฏิบัติการราหู ภาค 5 ในปรากฏการณ์ "สุริยะคราส" 9 มีนาคม 2559

          มีขั้นตอนดังต่อไปนี้

          1.หาขนาดของเส้นผ่าศูนย์กลางโลก (Earth's diameter) จาก "ปฏิบัติการอีราโต้สทีเนส" ปราสาทภูเพ็ก สกลนคร กับปราสาทบายน เมือง Siem Reap กัมพูชา เมื่อวันที่ 21 มีนาคม 2555 (Operation Eratosthenes 21 March 2012) ได้ค่าเส้นรอบวงโลก 38,451 กิโลเมตร และเส้นผ่าศูนย์กลางโลก 12,234 กิโลเมตร (อ่านรายละเอียดบทความปฏิบัติการอีราโต้สทีเนส ในเว้ปไซด์เดียวกันนี้)

 

 

 

           2.หาค่าเฉลี่ยระยะทาง โลก - ดวงจันทร์ จาก Operation Rahu Episode I - Episode IV ได้เท่ากับ 404,717 กม. (Error 5.12%) และเส้นผ่าศูนย์กลางดวงจันทร์ 3,747 กม. 

 

ผลของ Operation Rahu Episode I - IV ได้ค่าเฉลี่ยระยะทาง โลก - ดวงจันทร์ 404,717 กม.

 

 

ค่าเฉลี่ยของขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางดวงจันทร์เท่ากับ 3,747 กม.ได้มาจากปรากฏการณ์สุริยุปราคา (Solar Eclipse) ที่เงาของดวงจันทร์ยาวมาถึงโลกเท่ากับระยะทาง โลก - ดวงจันทร์ ทำให้สามารถคำนวณย้อนกลับไปหาขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางของดวงจันทร์โดยใช้สูตร (ระยะทางโลก - ดวงจันทร์) หารด้วย 108 (ตัวเลข 108 มาจากสูตรของกรีกโบราณที่กล่าวว่า ความยาวของเงาวัตถุทรงกลมเท่ากับ 108 เท่า ของเส้นผ่าศูนย์กลางของวัตถุนั้นๆ) 

 

Logo Operation Rahu Episode I - IV 

 

          3. คำนวณระยะทาง โลก - ดวงอาทิตย์

          ขณะที่เกิดปรากฏการณ์สุริยะปราคาบางส่วนที่ประเทศไทย (Partial Solar Eclipse) 9 มีนาคม 2559 ผมอยู่ที่ Tulsa USA จึงต้องขอความอนุเคราะห์จากมัคคุเทศก์อาชีพ ชื่อ facebook ว่า Pom Dararat ที่จังหวัดเชียงใหม่ประกบติดแบบยกต่อยกกับทีมงานสถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (National Astronomical Research Institute of Thailand: NARIT) ชมรมพรานดารา และ Centralfestival ตั้งแต่เช้ามืดวันที่ 9 มีนาคม 2559 (ผมเดินทางมาที่บ้านของลูกสาวในรัฐ Oklahoma สหรัฐอเมริกา ตั้งแต่วันที่ 7 มีนาคม 2559 ก็ต้องขอบคุณ social media facebook ที่ทำให้สามารถสื่อสารข้ามทวีปได้อย่างรวดเร็ว)

 

สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ จัดนิทรรศการขนาดย่อมและติดตั้งกล้องถ่ายภาพดวงอาทิตย์บนดาดฟ้า (เข้าใจว่าเป็นตึกของ Central festival) เช้ามืดวันที่ 9 มีนาคม 2559 จังหวัดเชียงใหม่

 

 

ภาพแรกที่ได้รับจากไกด์ Pom Dararat 

 

ไกด์ Pom Dararat เป็นพรีเซนเตอร์ทำท่ายกดวงอาทิตย์ด้วยมือ

 

จากนั้นก็ได้รับภาพเพิ่มเติมจากไกด์ Pom Dararat และ ไกด์ Oh Prapangkornsuwaan ที่เชียงใหม่ และเลือกภาพที่ชัดที่สุดมาลงในโปรแกรม PowerPoint และ proceed ตามขั้นตอนของการทำภาพเชิงซ้อน

 

 

 

ผมเรียกทฤษฏี angular diameter ในสำนวนไทยว่า "เส้นผมบังภูเขา" หมายถึงภาพของดวงจันทร์สามารถบังดวงอาทิตย์ได้อย่างพอดีถ้ามองจากโลก ดังนั้นตามทฤษฏี angular diameter ระยะทางจากโลก - ดวงอาทิตย์ ย่อมเท่ากับ 400 เท่าของระยะทางโลก - ดวงจันทร์  

 

   

ภาพถ่าย "สุริยะคราสแบบเต็มดวง" จากประเทศอินโดนีเซีย เป็นการยืนยันทฤษฏี angular diameter หรือเรียกแบบไทยๆว่า "เส้นผมบังภูเขา" ที่มีความหมายว่าดวงจันทร์เล็กกว่าดวงอาทิตย์หลายเท่าแต่ก็สามารถบดบังดวงอาทิตย์ได้อย่างมิดชิดพอดีในมุมมองจากโลก นักดาราศาสตร์ยุคปัจจุบันใช้วิธีนี้คำนวณว่าระยะทางโลก - ดวงอาทิตย์ เท่ากับ 400 เท่าของระยะทางโลก - ดวงจันทร์ ขณะเดียวกันขนาดดวงอาทิตย์ก็ใหญ่เท่ากับ 400 เท่าของดวงจันทร์ 

 

        ผลการคำนวณ

  

          1.ระยะทางโลก - ดวงอาทิตย์ = 400 x 404,717 กม. (ระยะทางโลก - ดวงจันทร์)

                                                 = 161,886,800 กม. หรือ 161.88 ล้าน กม. 

          (ระยะทางโลก - ดวงอาทิตย์ โดยเฉลี่ยจาก Google = 149.6 ล้าน กม. ดังนั้น Operation Rahu V มีค่า Error = 8.2%)

          2.ขนาดของดวงอาทิตย์เท่ากับ 400 x 3,747 กม.(ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางของดวงจันทร์) เท่ากับ 1,498,800 กม.  

 

          หมายเหตุ

          ค่า Error 8.2% มาจากการสะสมความคลาดเคลื่อนตั้งแต่

          1.การคำนวณขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางโลก

          2.การคำนวณระยะทางโลก - ดวงจันทร์

          3.ค่าเฉลี่ยตามสูตร angular diameter ที่ปรับจาก 381.970 เป็นตัวเลขกลมๆที่ 400 ถ้วนๆ

           อย่างไรก็ตามหากเลือกหยิบเอาตัวเลขที่ Error น้อยที่สุด (0.3%) ของระยะทางโลก - ดวงจันทร์  386,224 กม. จาก Operation Rahu Episode II และใช้ค่า angular diameter 381.970 จะได้ระยะทางโลก - ดวงอาทิตย์ เท่ากับ 147.52 ล้าน กม. มีค่า Error เพียง 1.4% (ระยะทางเฉลี่ย โลก - ดวงอาทิตย์ 149.6 ล้าน กม.) 

 

                  สรุป

          ปฏิบัติการราหูภาค 5 ในปรากฏการณ์สุริยะคราส 9 มีนาคม 2559 เป็นการคำนวณระยะทางโลก - ดวงอาทิตย์ ด้วยเทคโนโลยีใหม่แห่งยุค 4G โดยนำหลักการของนักดาราศาสตร์ชาวกรีก ท่าน Aristarchus of Simon เมื่อสองพันกว่าปีที่แล้วมาพัฒนาต่อยอด และก็ต้องอิงข้อมูลจาก "ปฏิบัติการอีราโต้สทีเน้ส ไทย - กัมพูชา" และปฏิบัติการราหูภาค 1 - 4 เป็นตัวเลขตั้งต้น ดังนั้นปฏิบัติการดาราศาสตร์ของผมแทบทุกครั้งจะมีความเชื่อมโยงระหว่างกันในลักษณะ "สมการต่อเนื่อง" หวังว่าสิ่งต่างๆที่ได้ทำจะเป็นตัวอย่างหนึ่งของการสร้างแนวคิดในเชิงวิชาการให้แก่นักเรียนและนักศึกษา

          

 

 

 

 

 

 

 







Copyright © 2010 All Rights Reserved.
มูลนิธิเพื่อการพัฒนาผู้นำธุรกิจและชุมชน
The Foundation for Business and Community Leadership Development
โดย
นายอารีย์ ภู่สมบูญ
ประธานกรรมการมูลนิธิฯ