ReadyPlanet.com
dot
dot
สืบเสาะเจาะลึกเมืองสกล
dot
bulletMegalithic Gate of Equinox ...... Sakon Nakhon Thailand
bulletปฏิทินท่องเที่ยวดาราศาสตร์และโหราศาสตร์เมืองสกล Mar 2024 - Feb 2025
bulletหนองหารหลวง ....... นครแห่ง "สุริยะปฏิทินพันปี"
bulletหนองหารหลวง ........ เมืองแห่ง "มหาสงกรานต์" จริงหรือ?
bulletปราสาทนารายณ์เจงเวง .....อะไรหายไปแล้ว อะไรเสี่ยงสูญหาย
bulletปราสาทภูเพ็ก ถูกดัดแปลง?
bulletสะพานขอมปัจจุบัน ....... โบราณสถานตัวจริง หรือสร้างใหม่?
bulletนาฬิกาแดดขนาดยักษ์เมืองสกล Google Earth ก็มองเห็น
bulletนาฬิกาแดดโรงเรียนวิถีธรรมเมืองสกล ...... มรดกจากบรรพชน
bulletSakon Hempmade มิติใหม่อุตสาหกรรมสิ่งทอ
bulletความรู้ปัจจุบัน ฤาจะเทียบชั้นกับวันวาน Ancient Wisdom V/S Digital Technology
bulletพบฐานรากปราสาทขอมใกล้ลำน้ำก่ำ
bulletปราสาทภูเพ็ก สกลนคร สุดๆแห่งปราสาทขอมในประเทศไทย
bulletปฏิบัติการภูเพ็ก ดอนสวรรค์ พิสูจน์คำทำนายซินแส ฮวงจุ้ยเมืองสกล
bulletสุริยะปฏิทินขอมพันปี
bullet "อาทิตย์ทรงกลด" ณ ปราสาทขอมเมืองสกล วิทยาศาสตร์ที่ลงตัวกับความเชื่อ
bulletโลกล้านปีที่แอ่งสกลนคร
bulletกลุ่มชาติพันธุ์ไทโส้ ....... เป็นใคร ....... มาจากไหน?
bulletพระยาสุระอุทก .......หนองหารหลวง ตำนานที่จับต้องได้
bulletรับพลังสุริยะยุคก่อนประวัติศาสตร์ ...... ที่สกลนคร
bulletกรมศิลปากรโยนหินถาม...เอกสารสิทธิ์ทับคูเมืองสกลโบราณ จะออกทางไหน
bulletหลากมิติอารยธรรม 4 ยุค "บ้านท่าวัด" ริมหนองหาร สกลนคร
bulletถอดจารึกขอม "ภูถ้ำพระ" ทำไมพระพุทธรูปไปอยู่ที่นั่น
bulletปราสาทขอมเมืองสกล.....เอาหินมาจากไหน ?
bulletพระธาตุดุม....ในอีกมุมมอง
bulletมุมมองใหม่ "สะพานขอม" ฝายทดน้ำชลประทาน
bulletไขความลับปราสาทนารายณ์เจงเวง
bulletหนองหารหลวงเมืองหน้าด่าน ยันกับอาณาจักรจาม
bulletไขประตูสู่อดีตพระธาตุเชิงชุม ...... ในอีกมุมมอง
bulletประตูเมืองโบราณสกลนครอยู่ตรงไหน
bulletปฏิบัติการ "มหาสงกรานต์" ไขปริศนาจารึกเมืองสกลโบราณ
dot
เปิดประเด็นการท่องเที่ยว
dot
bulletปราสาทบ้านปรางค์ มิติดาราศาสตร์และศาสตร์แห่งความเชื่อ
bulletปลานิล Biofloc "Safe and Saab"
bulletStory Board มหัศจรรย์ปราสาทภูเพ็ก ตำนานที่จับต้องได้
bulletเรือท่องเที่ยวหนองหารขับเคลื่อนด้วยพลังงานไฟฟ้า
bulletตัวอย่าง เส้นทางท่องเที่ยวสกลนคร 2 วัน 1 คืน
bulletยุทธศาสตร์การท่องเที่ยวเส้นทาง "ราชมรรคา"
bulletTourism Gimmick
bulletTourism Project Proposal
bulletสุริยะปฏิทินจักรราศีดอนสวรรค์ Don Sawan Zodiacal Solar Calendar
bulletSt.Peter's Fish โปรโมทการท่องเที่ยวและสร้างอาชีพใหม่....สกลนคร
bulletBig Project Tourism SNO
bulletAdventure Tourism (Search-Found-Selfie) ลุยป่าค้นหาขอมพันปี
dot
ปฏิบัติการดาราศาสตร์ Operation Astronomy
dot
bulletOperation Equinox 2024
bulletOperation Spica .... ไขปริศนา "เมืองโบราณศรีเทพ"
bulletย้อนอดีต "ราหูอมสุริยา" ก่อนเปลี่ยนแผ่นดินสมเด็จพระนารายณ์มหาราช
bulletOperation Rahu Episode XV วัดระยะทาง โลก - ดวงจันทร์ - ดวงอาทิตย์
bulletเจาะลึกเบื้องหลังเมืองโบราณศรีเทพ Operation Spica EP 2
bulletOperación Intercontinental Solsticio de Invierno ปฏิบัติการดาราศาสตร์ เห-มา-ยัน ข้ามทวีป ไทย - เม็กซิโก ธันวาคม 2022
bulletOperation Rahu Episode XIV Total Lunar Eclipse 8 Nov 2022 How Far is The Moon?
bulletOperation Transcontinental Equinox 2022 ปฏิบัติการวสันตวิษุวัตข้ามทวีป 2565
bulletOperation Chou Li Episode V ..... Earth's axis tilt 23.5?
bulletOperation Rahu Episode XIII How Far is the Moon (Lunar Eclipse 26 May 2021)
bulletOperation Bhishma Winter Solstice 2020 finding Earth's axis tilt
bulletOperation Rahu Episode XII Solar Eclipse and Summer Solstice 21 June 2020 How far and how big is the sun
bulletOperation Rahu Episode XI How far is the sun
bulletปฏิบัติการราหู ครั้งที่ 10 (Operation Rahu X) วัดระยะทางโลก - ดวงอาทิตย์ ปรากฏการณ์สุริยะปราคาเต็มดวง
bulletปฏิบัติการชูหลี 4 มุมเอียงโลกยังคง 23.5 หรือไม่ (Operation Chou Li Episode IV)
bulletOperation Eratosthenes Episode II Mar 21, 2019 Measure Earth's circumference with one stick
bulletปฏิบัติการวันสิ้นโลกภาคสาม Operation Doomsday Episode III
bulletOperation Galileo Episode II วัดความเร็วของโลก "หมุนรอบตัวเอง (Rotation) และโคจรรอบดวงอาทิตย์ (Revolution)"
bulletOperation Rahu IX 28 July 2018 Total Lunar Eclipse วัดระยะทางโลก - ดวงจันทร์
bulletOperation Rahu VIII Measuring Distance Earth-Moon ปฏิบัติการข้ามทวีป Thailand - USA
bulletOperation Chou Li Episode III (Measure Earth Axis Tilt With One Stick)
bulletปฏิบัติการไจตระ ถอดรหัสคณิตศาสตร์ขอมพันปี ปราสาทภูเพ็ก สกลนคร
bulletปฏิบัติการดาราศาสตร์ข้ามทวีป Operation Transcontinental Equinox 2016
bulletOperation Bhishma 2016 ปฏิบัติการดาราศาสตร์ข้ามทวีป ..... การหมุนรอบตัวเองและวงโคจรของโลกยังคงปกติหรือไม่?
bulletวัดมุมเอียงของโลก...ด้วยไม้แท่งเดียว
bulletOperation Rahu Episode I measuring earth to moon วัดระยะทางจากโลกถึงดวงจันทร์ ในปรากฏการณ์จันทรุปราคาเต็มดวง
bulletOperation Rahu Episode II สูตรใหม่คำนวณระยะทางโลกไปดวงจันทร์
bulletปฏิบัติการ "เจนัส" วัดมุมเอียงของโลก
bulletOperation Rahu Episode III 4 April 2015 วัดระยะทางโลกไปดวงจันทร์
bulletปฏิบัติการเวกัส 2558 "อีราโต้สทีเน้ส " ภาค 2 วัดโลกทั้งใบด้วยไม้แท่งเดียว
bulletOperation Rahu Episode IV วัดระยะทางโลก - ดวงจันทร์
bulletปฏิบัติการชูหลี (Operation Chou Li) ยืนยันมุมเอียงโลก 23.5 องศา
bulletOperation Rahu Episode V วัดระยะทางโลก - ดวงอาทิตย์
bulletOperation Rahu Episode VI How far and how big is the Moon
bulletOperation Rahu Episode VII How far and how big is the sun
bulletOperation Chou Li Episode II (Measuring Earth's Tilt)
bulletวัดโลกทั้งใบ ไทย กัมพูชา ปฏิบัติการ "อีราโตสทีเนส" ข้ามประเทศ
bulletปฏิบัติการ "กาลิเลโอ" วัดความเร็วการหมุนของโลกที่ปราสาทภูเพ็ก
bulletปฏิบัติการวันสิ้นโลกภาค 2 ข้ามทวีป ปราสาทภูเพ็ก สกลนคร VS ปีรามิดเผ่ามายา เม็กซิโก
dot
แนะนำผู้เขียน
dot
bulletนายกสโมสรโรตารีสกลนคร ปีบริหาร 2556 - 2557
bulletสรรค์สนธิ บุณโยทยาน
dot
สากกะเบือยันเรือรบ กับปราสาทภูเพ็ก สกลนคร
dot
bulletปฏิบัติการอัสวีน่า ปราสาทภูเพ็ก (Operation Ashvina 23 Sep 2019)
bulletพระพุทธรูปศิลปะขอมซ่อนอยู่ใต้โพรงหินที่ปราสาทภูเพ็ก.....สื่อถึงอะไร
bulletภูเพ็ก....เมกกะโปรเจค นครที่สาปสูญ
bulletปฏิบัติการวันสิ้นโลก 2012 ท้าพิสูจน์ที่ปราสาทภูเพ็ก สกลนคร
bulletความเป็นมาของปราสาทภูเพ็ก
bulletตลึง ! พบ “ฝายหินพันปี” กลางป่าภูเพ็ก
bulletครบรอบ 10 ปี การค้นพบ "สุริยะปฏิทินพันปี" ปราสาทภูเพ็ก
bulletปรากฏการณ์ดาราศาสตร์ "เหมายัน" 21 -22 ธันวาคม ที่ปราสาทภูเพ็ก
bulletเผยเทคนิคการออกแบบก่อสร้างปราสาทภูเพ็ก
bulletความเป็นมาของสุริยปฏิทิน
bulletพิสูจน์สุริยะวิถี กับปฏิทินมหาศักราชที่ปราสาทภูเพ็ก
bulletรับพลัง "สุริยันจันทรา" ประชันดาวหางแพนสตาร์
dot
เปิดโลกวิทยาศาสตร์
dot
bulletปลูกป่าส่วนตัว กับ 2050 Net Zero Mission Impossible?
bulletพิสูจน์เชิงประจักษ์ "ปลูกป่าให้โตเร็ว" ด้วยธนาคารน้ำใต้ดิน
bulletBiofloc ...... Fish Farm 4.0
bulletทำไมเดือนกุมภาพันธ์ มี 28 วัน
bulletBiofloc Farming เลี้ยงปลาระบบปิด Fisheries 4.0
bulletข้าวหอมมะลิใช้น้ำน้อย 2019
bulletClimate Change Mitigation & Adaptation "It's Now or Never"
bulletฟาร์มปลาเชิงพาณิชย์ใช้น้ำน้อยระบบ Biofloc
bulletข้าวหอมมะลิใช้น้ำน้อย 2561 (2018)
bulletGroundwater Bank (An alternative water management)
bulletข้าวหอมมะลิกับดาราศาสตร์ ปลูกปีละ 2 ครั้ง ได้หรือไม่?
bulletHow Herbal Medicine Works
bulletระบบให้น้ำโรงเรือนปลูกผักบริษัทประชารัฐ สกลนคร
bulletป่าเศรษฐกิจครอบครัวทางเลือกใหม่ win win ทั้งชาวบ้านและรัฐบาล
bulletEarth and Space Class
bulletวิเคราะห์ฤกษ์รัตนโกสินทร์ในมุมวิทยาศาสตร์
bulletปฏิบัติการพิมาย ชาตินี้มีครั้งเดียว Operation Phimai Once or Never
bulletนาฬิกาแดดโรงเรียนวิถีธรรม ม.ราชภัฏสกลนคร
bulletทำไมชาวมายาในเม็กซิโกจึงมีรูปร่างหน้าเหมือนคนเอเซีย
bulletปรากฏการณ์ดวงอาทิตย์ตรงศรีษะ (sun overhead)
bulletเกาะติดไปกับยาน New Horizons เผยความลับพลูโต "ดาวเคราะห์ลูกเมียน้อย"
bulletทำนาน้ำน้อยแต่ผลผลิตสูง เป็นไปได้หรือไม่ More Rice With Less Water?
bullet21-22 มิถุนายน ปรากฏการณ์ดาราศาสตร์ "ครีษมายัน" Summer Solstice กลางวันยาวที่สุดในรอบปี
bulletดางหาง ISON ปรากฏการณ์ดาราศาสตร์ปิดท้ายปี 2556
bulletมองหมากเม่าผ่านมิติดาราศาสตร์
bulletดาราศาสตร์ที่เราเห็น.....ล้วนเป็นภาพลวงตา
bulletเข้าพรรษาบางปีทำไมต้องเดือน 8-8
bulletประสบการณ์ตรงเรื่อง "ยูเอฟโอ" ผมคิดแบบวิทยาศาสตร์
bulletเกาะติดการค้นหาชีวิตบนดาวอังคาร กับยาน Curiosity
bulletหม้อหุงข้าวพลังแสงอาทิตย์ นวัตกรรมติดดิน
bulletนาฬิกาแดดต้นแบบมิติเวลาของมนุษยชาติ
bulletภาคปฏิบัติ....วัดโลกทั้งใบด้วยไม้แท่งเดียว
bulletการอบรมเชิงปฏิบัติการ "อีราโทสทีเนส"
bulletชวนครูไทย วัดโลกทั้งใบ ด้วยไม้แท่งเดียว
dot
จับประเด็นร้อน
dot
bulletอะไรจะเกิดขึ้นถ้าแม่น้ำโขงเผชิญกับสภาพ "ไร้ตะกอน" (Hungry River)
bulletฤาตำนานหนองหารล่ม.....จะกลายเป็นเรื่องจริง
bulletทำไมคนถึงอยากครอบครอง "ดอนสวรรค์" ในบึงหนองหาร สกลนคร
bulletกู้ "หนองหาร" ด้วยมือเรา.....เริ่มต้นที่บ้าน
bulletบทเรียนอันเจ็บปวดของเขื่อนในอเมริกา....ฤา จะสะท้อนสามแสนล้านบาทเพื่อจัดการน้ำของไทย
bulletโบราณวัตถุพันปีสกลนคร....อยู่ในภาวะเสี่ยงสูญหาย
bulletภัยมืดรุกชาวสกล...จากสาหร่ายพิษในหนองหาร
bulletน้ำท่วม "ตัวเมืองสกล" บทเรียนที่น่าจะถึงเวลาสรุปเสียที
bulletพายุ "นกกระเตน" ทำเสียหายสวนยางเมืองสกล
bulletฤา...นโยบาย 300 บาท จะช่วยบรรเทาปัญหา “หัวดำออก หัวหงอกเลี้ยง”
dot
อินเดียน่าโจนส์ (ภาคสรรค์สนธิ)
dot
bulletThe Cosmic Code of Borobudur รหัสจักรวาลแห่งบูโรพุทโธ
bulletThe Riddle of Ayutthaya
bulletทำไมวันปีใหม่ต้องเป็น 1 มกราคม? Why does the new year begin on January 1 ?
bulletผลการดูงานสหกรณ์การเกษตรประเทศไต้หวัน 23 - 26 สิงหาคม 2559
bulletประกาศิตเทพเจ้ากูกูลข่าน The Return of God Kukulkan
bulletวางผังเมืองเชียงใหม่ด้วยวิธีดาราศาสตร์
bulletกุมภาพันธ์ ปี "อธิกสุรทิน" ทำไมต้อง 29 วัน
bulletมองผ่านประตูพระธาตุพนมในอีกมุม
bulletจับพิรุธรูปสลักหินอ่อน "กษัตริย์เดวิท" ที่เมืองฟอร์เรนซ์
bulletย้อนอดีตกรุงเก่าอยุธยา ถือฤกษ์ "รามนะวามิ"
bulletท่อน้ำศักดิ์สิทธิ์ "โสมสูตร" ที่ปราสาทขอมในกัมพูชาหายไปไหนหมด
bulletอาทิตย์ตั้งฉากกับพุทธสถานชื่อดังในวันวิสาขบูชาโลก
bulletปราสาทพิมายในมุมมองวิทยาศาสตร์
bulletมองปราสาทขอม ในแง่มุมดาราศาสตร์ การเมือง และความเชื่อ โดยนักรบออนไลน์ กับไกด์มืออาชีพ
bulletตรุษจีน ตรุษเวียต ตรุษไทสกล และบุญเบิกฟ้า
bulletปริศนา "ปราสาทบายน" ฤา.....มนุษยชาติจะผ่านพ้นความขัดแย้ง
bulletประสูติ ตรัสรู้ ปรินิพพาน ทำไมต้องใช้ชื่อว่า "วิสาขะ"
bulletราหู.....น้ำอมฤต.....สนามบินสุวรรณภูมิ
bulletอาณาจักร "ทวารวดี" ทำไมจึงล่มสลาย
bullet"มาฆบูชา" ทำไมต้องใช้ชื่อนี้
bullet"ทัชมาฮาล" ในมุมมองดาราศาสตร์
bulletคำสอนพุทธองค์เปล่งประกายอีกครั้งในดินแดนภารตะ
bulletเมือง "สารนาท" ที่มาแห่งวันอาสาฬหบูชา
bulletแกะรอย "สุริยะเทพ" ที่ปราสาทพนมบาเค็ง
bulletถอดความศิลาจารึกพระเจ้าชัยวรมันที่ 7 พบ "ฤกษ์อโรคยาศาล"
bulletปราสาทหินพิมาย กับสามเหลี่ยมพุทธมหายาน
bulletจากพระธาตุเชิงชุม ถึงพุทธคยา
bulletถอดรหัสขอมพันปี 80 องศา พบราศีเมษ
bulletไขปริศนาปราสาทพนมรุ้ง
bullet13 เมษายน 2551 วันสงกรานต์ จริงหรือ ?
bullet21 มี.ค. 51 ปรากฏการณ์ทางดาราศาสตร์ที่ยิ่งใหญ่ของโลก
bulletตำนานวันปีใหม่ มิติแห่งกาลเวลาของมนุษยชาติ
bulletเข้าพรรษา ปี 2550 ทำไมต้องมีเดือนแปดสองหน
bulletมหาสงกรานต์ 13–15 เม.ย.
bulletปฏิบัติการอีราโตสทีเนสวัดโลกทั้งใบ ด้วยไม้แท่งเดียว
bulletบ่าวคำหอม ล่ะเบ๋อ
bulletแวดวง BCL.
bulletปฏิบัติการ "อีราโทสทีเนส" วัดเส้นรอบวงโลกด้วยไม้แท่งเดียว




Tourism Gimmick

 

Tourism Gimmick การสร้างสิ่งเร้าใจแก่แหล่งท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์

          ผมมีโอกาสได้เข้าร่วมประชุม "บทบาทหน้าที่ร่วมระหว่างภาครัฐและภาคเอกชน สู่ความยั่งยืนของอุตสาหกรรมท่องเที่ยวไทย วันเสาร์ที่ 15 พฤศจิกายน 2557" ผมมาในภารกิจของที่ปรึกษาหอการค้าสกลนคร และหอการค้าภาคอีสาน นำโดยท่านประธานประพันธ์ เตชะสกลกิจกูล ผมเป็นผู้หนึ่งที่ร่วมอภิปรายและใช้คำพูดว่า.........เราสามารถเพิ่มมูลค่าแก่โบราณสถานในประเทศไทยด้วยการใช้ปรากฏการณ์ดาราศาสตร์เป็นตัวสร้าง Gimmick ....... "ท่านสุริยะเทพมาตามนัด และไม่เคยส่งบิลมาเก็บเงินแม้แต่บาทเดียว"        

 

การประชุมครั้งนี้มีท่านรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา นางกอบกาญจน์ วัฒนวรางกูล เป็นประธาน 

 

ผมได้รับการแนะนำจากท่านประธานบอร์ดการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย คุณกลินท์ สารสิน ให้ลุกขึ้น comment ก็เลยได้โอกาสอภิปรายสนับสนุนให้มีการใช้ปรากฏการณ์ดาราศาสตร์ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง "sunrise and sunset" เป็น Tourism Gimmick ซึ่งหลายท่านที่นั่งฟังอยู่ก็เห็นด้วย (ภาพนี้ถ่ายจาก I-Phone ของคุณกลินท์ สารสิน) 

 

          ผมยกตัวอย่างประเทศเพื่อนบ้านในกลุ่ม ASEAN เช่น อินโดนีเซีย และกัมพูชา เขาขายบรรยากาศ Sunset เป็น Tourism Gimmick 

 

ร้านอาหารที่เกาะบาหลีมีป้ายเชิญชวนให้นั่งกินดื่มเพื่อชม nice sunset ทำให้สามารถเพิ่มรายได้แก่ผู้ประกอบการ

 

บรรยากาศ sunset ที่เกาะบาหลี ก็งามสมชื่อ 

 

นั่กท่องเที่ยวจำนวนมากแห่ขึ้นไปชม sunset ที่ปราสาทพนมบาเค็ง Siem Reap กัมพูชา 

 

ผมอยู่ในบรรยากาศ sunset at Prasat Phnom Bakeng ด้วยตนเอง จึงแน่ใจว่าท่านสุริยะเทพมีอิทธิพลต่อการท่องเที่ยวจริงๆ

 

          สร้าง Gimmick ให้กับโบราณสถานสำคัญของประเทศไทย ด้วยคอนเซ็พ "สุริยะเทพมาตามนัด" โดยใช้ตำแหน่งดวงอาทิตย์ในยามเย็นทำหน้าที่เป็น "สุริยะปฏิทินจักรราศี" (Solar Zodiacal Calendar)

          หลายท่านอาจะถามว่าทำไมจึงคิดเช่นนี้ แล้วจะได้อะไรขึ้นมาละ ผมมีคำอธิบายครับ

          เป็นที่ยอมรับกันในระดับสากลว่า "ธุรกิจการท่องเที่ยวคือการตอบสนอง ความอยากรู้ อยากเห็น อยากสัมผัส" ถ้าไม่ใช่สิ่งเหล่านี้ก็นอนเล่นอยู่บ้านเฉยๆไม่ดีกว่าหรือ ดังนั้นการสร้างสิ่งเร้าใจแก่นักท่องเที่ยวจึงเป็นอะไรที่ต้องสร้างขึ้นมา ดวงอาทิตย์ยามเย็นเป็นจุดขายอย่างหนึ่งที่มนุษย์มีความสุขที่ได้เห็น แม้ว่าจะเป็นดวงอาทิตย์ดวงเดียวกันทั้งโลก แต่เมื่อองค์ประกอบ Background ของสถานที่เปลี่ยนไปก็สามารถสร้างความตื่นตาตื่นใจได้ ไม่งั้นเราๆท่านๆนั่งดูดวงอาทิตย์ตกที่หลังบ้านก็ได้ไม่จำเป็นต้องถ่อสังขารไปถึงชายทะเลที่เกาะภูเก็ต หรือปีนขึ้นไปบนภูเขาที่ดอยสุเทพเหนื่อยแทบแย่

          เรื่องดวงอาทิตย์กับจักรราศีก็เป็น Gimmick อีกอย่างหนึ่งที่มนุษย์ให้การยอมรับทั่วโลก และถ้ายิ่งเอามาประกบคู่กับโบราณสถานที่มีชื่อเสียงก็ยิ่งเพิ่มความเร้าใจ หลายท่านอาจพูดว่าสิ่งนี้เป็นความ "งมงาย" แต่ทุกวันนี้คนทั้งโลกตั้งแต่อดีตจนปัจจุบันก็ยังให้ความสำคัญกับราศี ในสายตาของผมจักรราศีเป็นเรื่องของ "คณิตศาสตร์และดาราศาสตร์" เพราะต้องใช้วิธีการคำนวณตำแหน่งดวงอาทิตย์ออกมาเป็นตัวเลของศา ถ้าท่านไม่มีความรู้ทางวิทยาศาสตร์ก็ไม่มีทางที่จะคำนวณได้เลย

          ที่ผมชักแม่น้ำทั้งห้ามาให้ท่านทราบก็เพื่อยืนยันว่า "ดาราศาสตร์ เป็น Tourism Gimmick" ได้อย่างดี และที่สำคัญ ........ ท่านสุริยะเทพไม่เคยส่งบิลมาเก็บเงินแม้แต่บาทเดียว    

 

ทำไมจึงอยากผมนั่งเรือสำราญ Silja Line แบบค้างคืนจากเมือง Turkur Findland ไปเมือง Stockhome Sweden 

 

นั่นก็เพราะความอยากกินไวน์ที่มองเห็น sunset ตอนสี่ทุ่มกว่าๆท่ามกลางทะเล Baltic มันต้องดีกว่านั่งกินอยู่ริมถนนหน้าบ้านเป็นแน่แท้ ถ้าจะว่าไปแล้วไวนส์ยี่ห้อนี้ซื้อที่ไหนก็มี แต่บรรยากาศ sunset in Baltic Sea มันต้องมาที่นี่ที่เดียว 

          ผมใคร่ขอเสนอ Tourism Gimmick ในโบราณสถานดังๆของประเทศไทยตามลำดับ ดังนี้

1. วัดไชยวัฒนาราม พระนครศรีอยุธยา

ตั้งอยู่ที่ริมฝั่งด้านทิศตะวันตกของแม่น้ำเจ้าพระยาเป็นสถานที่ท่องเที่ยวยอดนิยมที่คณะทัวร์ไม่เคยพลาด เคยมีคำชมจากนักท่องเที่ยวจำนวนมากว่า sunset ที่วัดแห่งนี้มีเสน่ห์อย่างลึกซึ้ง ผมเองก็เคยไปบรรยายให้แก่คณะมัคคุเทศก์อาชีพที่เข้าอบรมหลักสูตร "การสร้างปราสาทขอมตามหลักดาราศาสตร์" เมื่อวันที่ 21 กันยายน 2557 และ 19 มีนาคม 2558 โดยใช้วัดแห่งนี้เป็นสถานที่สาธิตในด้านดาราศาสตร์ในเนื้อหาสาระเกี่ยวกับ "การหันหน้าตามทิศ" (astronomical orientation) ที่เรียกว่า "มุมกวาดจากทิศเหนือ" (Azimuth) วัดนี้หันหน้าไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือที่มุกกวาด 70 องศา (Azimuth 70) 

 

นักดาราศาสตร์เรียกตำแหน่งดวงอาทิตย์โดยใช้ค่าทางคณิตศาสตร์ที่เรียกว่า "มุมกวาด" (Azimuth) และ "มุมเงย" (Altitude) ในที่นี้ใช้ทิศเหนือเป็นจุดเริ่มต้นของการนับองศาโดยหมุนไปทางขวามือเรียกว่า "มุมกวาด"

 

  

อีกตัวอย่างของ "มุมกวาด" (Azimuth) และ "มุมเงย" (Altitude) 

 

การแสดงค่ามุมกวาดจากเข็มทิศ ในที่นี้จะเห็นว่าทิศเหนือมีค่ามุมกวาด 0.0 องศา เมื่อกวาดไปทางขวามมือตรงกับตำแหน่งทิศตะวันออกมีค่าเท่ากับ Azimuth 90 องศา หมุนไปอีกที่ทิศใต้ได้ค่ามุมกวาด 180 องศา ต่อไปที่ทิศตะวันตกได้ค่ามุมกวาด 270 องศา ในที่สุดก็กลับมาที่เดิมตรงทิศเหนือได้ค่ามุมกวาด 360 องศา แต่นักดาราศาสตร์เรียก 360 องศา ว่า 0.0 องศา 

 

วัดไชยวัฒนาราม วัดพุทไธศวรรย์ และวัดอรุณ ต่างก็หันหน้าไปที่มุมกวาด 70 องศา (Azimuth 70) เหมือนกันทั้งสามแห่ง และก็ตั้งอยู่ด้านทิศตะวันตกของแม่น้ำเจ้าพระยาเหมือนกัน 

 

ผมเป็นวิทยากรบรรยายแบบสดที่วัดไชยวัฒนาราม เมื่อวันที่ 21 กันยายน 2557 และ 19 มีนาคม 2558 

 

มัคคุเทศก์กำลังฝึกการจับมุมกวาดของวัดไชยวัฒนาราม

 

การจับมุมกวาดทำได้โดยใช้เข็มทิศแม่เหล็ก และ smart phone ที่มี application compass

 

เข็มทิศแม่เหล็กแสดงมุมกวาดของวัดไชยวัฒนารามที่ Azimuth 70 องศา ก็หมายความว่าวัดนี้หันหน้าไปที่มุมกวาด 70 องศา เป็นทิศตะวันออกเฉียงเหนือ และหันหลังไปที่มุมกวาด 250 องศา (70 องศา + 180 องศา = 250 องศา) 

 

ภาพถ่ายดวงอาทิตย์ sunset วันที่ 12 กุมภาพันธ์ 2558 เกือบตรงกับปรางค์ประธาน แต่ผู้ถ่ายภาพคือไกด์ Nig Damn Right ไม่ได้ระบุเวลา ผมจึงใช้วิธี simulate ว่าดวงอาทิตย์น่าจะอยู่ในตำแหน่งที่มุมเงย 20 องศา และมุมกวาด 249 องศา (Al 20 Az 249) 

 

sunset 6 พฤษภาคม 2558 ดวงอาทิตย์คล้อยไปทางทิศเหนือเกือบสุด

 

 

เชื่อว่าไกด์ Nig Damn Right ผู้ถ่ายภาพเมื่อวันที่ 12 Feb 15 และ 6 May 15 น่าจะยืนที่จุด viewing point ซึ่งตรงกับ center-line ของปรางค์ประธาน

 

 

 Graphic แสดงตำแหน่ง sunset ที่มุมเงย 16 องศา และหย่อนตัวลงด้วยมุมเอียงเท่ากับองศาของเส้นรุ้งที่ 14 องศา

วิธีคำนวณตำแหน่งดวงอาทิตย์เพื่อสร้าง "ปฏิทินจักรราศีในยามเย็น" Graphic of Zodiacal Sunset Calendar

          เนื่องจากการชมดวงอาทิตย์ขึ้นตอนเช้าที่วัดชัยวัฒนาราม อาจจะไม่เหมาะกับความสะดวกของนักท่องเที่ยวและท่านผู้ชมทั่วไปอย่างเราๆท่านๆ แต่การชมดวงอาทิตย์ตกในตอนเย็นน่าจะสะดวกกว่าและก็เป็นภาพที่สวยงามไปอีกแบบหนึ่ง 

          การสร้าง Graphic of sunset มีเพียง 2 วิธี คือ

          1. ไปยืนรอถ่ายรูปที่นั่นด้วยตนเองตามวันและเวลาของปฏิทินจักรราศี และเอากล้อง Survey แบบเดียวกับที่นายช่างกรมโยธาใช้คุมก่อสร้างไปจับมุมเงย (altitude) และมุมกวาด (azimuth) ของดวงอาทิตย์ ซึ่งดูแล้วต้องใช้เวลานานเป็นปีและคงไม่มีใครอาสาสมัครขนาดนั้น

          2. ใช้วิธีการคำนวณทางคณิตศาสตร์และดาราศาสตร์ ผมเลือกวิธีนี้ครับโดยใช้ภาพถ่ายของไกด์ Nig Damn Right เป็นตัวเริ่มต้นในการคำนวณหามุมเงยของดวงอาทิตย์ และคำนวณหาความสูงของปรางค์ประธาน เพื่อที่จะกำหนดจุดที่สวยงามของ sunset ในแต่ละราศี ให้ได้สัดส่วนกับความสูงของปรางค์ประธาน ในที่นี้กำหนดให้ดวงอาทิตย์อยู่ในระดับความสูงที่มุมเงย 16 องศา จะได้ภาพดวงอาทิตย์ลอยอยู่เหนือยอดปรางค์ประธาน 1 เมตร

 

 จากภาพถ่ายผมคำนวณว่าดวงอาทิตย์อยู่ที่มุมเงย 20 องศา และมุมกวาด 249.4 องศา (ตำแหน่งปรางค์ประธาน อยู่ที่มุมกวาด Az 250) 

 

จากคำบอกเล่าและหลักฐานจากภาพถ่ายของไกด์ Nig Damn Right ผมเชื่อว่าจุด Viewing Point อยู่ตรงจุดสีเหลืองตามภาพ

 

การคำนวณความสูงของปรางค์ประธานได้ผลใกล้เคียงกับตัวเลขจริงตามที่นักวิชาการจากมหาวิทยาลัยมหาสารคามทำไว้ ผลจากการคำนวณได้ตัวเลขความสูง 35 เมตร แต่จากข้อมูลที่อ้างอิงได้ตัวเลขความสูง 33 เมตร 

 

ใช้โปรแกรมดาราศาสตร์คำนวณหาตำแหน่ง sunset ณ ราศีต่างๆที่มุมเงย 16 องศา และทำเครื่องหมายลงใน Google Earth

 

 

Plot ตำแหน่ง sunset ลงในภาพ vertical front-profile ของวัดไชยวัฒนารามให้ใกล้เคียงกับความจริงมากที่สุด อนึ่งเนื่องจากวัดไชยวัฒนาราม หันหน้าไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือที่มุมกวาด 70 องศา (Azimuth 70) ตำแหน่ง sunset จึงคล้อยไปทางทิศเหนือ 

 

          อย่างไรก็ตาม Graphic นี้มาจากผลการคำนวณอาจจะมีความคลาดเคลื่อนจาก real situation จึงต้องใคร่ขอความร่วมมือจากท่านมัคคุเทศก์อาชีพให้ช่วยถ่ายภาพตามวันและเวลาดังกล่าว โดยไปยืนอยู่ที่จุด viewing point (ถ้าเผอิญท่านกำลังทำทัวร์อยูที่นั่นพอดี) และส่งภาพมาให้ผมทาง facebook พร้อมกับระบุวันและเวลามาด้วยครับ ผมจะนำมาทำการปรับปรุงให้เป็น real situation และจัดทำ Guide book for tourist ต่อไป  

 

.......กำลังเขียนอยู่ครับ...... มีต่อครับ

 

 

 







Copyright © 2010 All Rights Reserved.
มูลนิธิเพื่อการพัฒนาผู้นำธุรกิจและชุมชน
The Foundation for Business and Community Leadership Development
โดย
นายอารีย์ ภู่สมบูญ
ประธานกรรมการมูลนิธิฯ