ReadyPlanet.com
dot
dot
สืบเสาะเจาะลึกเมืองสกล
dot
bulletMegalithic Gate of Equinox ...... Sakon Nakhon Thailand
bulletปฏิทินท่องเที่ยวดาราศาสตร์และโหราศาสตร์เมืองสกล Mar 2024 - Feb 2025
bulletหนองหารหลวง ....... นครแห่ง "สุริยะปฏิทินพันปี"
bulletหนองหารหลวง ........ เมืองแห่ง "มหาสงกรานต์" จริงหรือ?
bulletปราสาทนารายณ์เจงเวง .....อะไรหายไปแล้ว อะไรเสี่ยงสูญหาย
bulletปราสาทภูเพ็ก ถูกดัดแปลง?
bulletสะพานขอมปัจจุบัน ....... โบราณสถานตัวจริง หรือสร้างใหม่?
bulletนาฬิกาแดดขนาดยักษ์เมืองสกล Google Earth ก็มองเห็น
bulletนาฬิกาแดดโรงเรียนวิถีธรรมเมืองสกล ...... มรดกจากบรรพชน
bulletSakon Hempmade มิติใหม่อุตสาหกรรมสิ่งทอ
bulletความรู้ปัจจุบัน ฤาจะเทียบชั้นกับวันวาน Ancient Wisdom V/S Digital Technology
bulletพบฐานรากปราสาทขอมใกล้ลำน้ำก่ำ
bulletปราสาทภูเพ็ก สกลนคร สุดๆแห่งปราสาทขอมในประเทศไทย
bulletปฏิบัติการภูเพ็ก ดอนสวรรค์ พิสูจน์คำทำนายซินแส ฮวงจุ้ยเมืองสกล
bulletสุริยะปฏิทินขอมพันปี
bullet "อาทิตย์ทรงกลด" ณ ปราสาทขอมเมืองสกล วิทยาศาสตร์ที่ลงตัวกับความเชื่อ
bulletโลกล้านปีที่แอ่งสกลนคร
bulletกลุ่มชาติพันธุ์ไทโส้ ....... เป็นใคร ....... มาจากไหน?
bulletพระยาสุระอุทก .......หนองหารหลวง ตำนานที่จับต้องได้
bulletรับพลังสุริยะยุคก่อนประวัติศาสตร์ ...... ที่สกลนคร
bulletกรมศิลปากรโยนหินถาม...เอกสารสิทธิ์ทับคูเมืองสกลโบราณ จะออกทางไหน
bulletหลากมิติอารยธรรม 4 ยุค "บ้านท่าวัด" ริมหนองหาร สกลนคร
bulletถอดจารึกขอม "ภูถ้ำพระ" ทำไมพระพุทธรูปไปอยู่ที่นั่น
bulletปราสาทขอมเมืองสกล.....เอาหินมาจากไหน ?
bulletพระธาตุดุม....ในอีกมุมมอง
bulletมุมมองใหม่ "สะพานขอม" ฝายทดน้ำชลประทาน
bulletไขความลับปราสาทนารายณ์เจงเวง
bulletหนองหารหลวงเมืองหน้าด่าน ยันกับอาณาจักรจาม
bulletไขประตูสู่อดีตพระธาตุเชิงชุม ...... ในอีกมุมมอง
bulletประตูเมืองโบราณสกลนครอยู่ตรงไหน
bulletปฏิบัติการ "มหาสงกรานต์" ไขปริศนาจารึกเมืองสกลโบราณ
dot
เปิดประเด็นการท่องเที่ยว
dot
bulletปราสาทบ้านปรางค์ มิติดาราศาสตร์และศาสตร์แห่งความเชื่อ
bulletปลานิล Biofloc "Safe and Saab"
bulletStory Board มหัศจรรย์ปราสาทภูเพ็ก ตำนานที่จับต้องได้
bulletเรือท่องเที่ยวหนองหารขับเคลื่อนด้วยพลังงานไฟฟ้า
bulletตัวอย่าง เส้นทางท่องเที่ยวสกลนคร 2 วัน 1 คืน
bulletยุทธศาสตร์การท่องเที่ยวเส้นทาง "ราชมรรคา"
bulletTourism Gimmick
bulletTourism Project Proposal
bulletสุริยะปฏิทินจักรราศีดอนสวรรค์ Don Sawan Zodiacal Solar Calendar
bulletSt.Peter's Fish โปรโมทการท่องเที่ยวและสร้างอาชีพใหม่....สกลนคร
bulletBig Project Tourism SNO
bulletAdventure Tourism (Search-Found-Selfie) ลุยป่าค้นหาขอมพันปี
dot
ปฏิบัติการดาราศาสตร์ Operation Astronomy
dot
bulletOperation Equinox 2024
bulletOperation Spica .... ไขปริศนา "เมืองโบราณศรีเทพ"
bulletย้อนอดีต "ราหูอมสุริยา" ก่อนเปลี่ยนแผ่นดินสมเด็จพระนารายณ์มหาราช
bulletOperation Rahu Episode XV วัดระยะทาง โลก - ดวงจันทร์ - ดวงอาทิตย์
bulletเจาะลึกเบื้องหลังเมืองโบราณศรีเทพ Operation Spica EP 2
bulletOperación Intercontinental Solsticio de Invierno ปฏิบัติการดาราศาสตร์ เห-มา-ยัน ข้ามทวีป ไทย - เม็กซิโก ธันวาคม 2022
bulletOperation Rahu Episode XIV Total Lunar Eclipse 8 Nov 2022 How Far is The Moon?
bulletOperation Transcontinental Equinox 2022 ปฏิบัติการวสันตวิษุวัตข้ามทวีป 2565
bulletOperation Chou Li Episode V ..... Earth's axis tilt 23.5?
bulletOperation Rahu Episode XIII How Far is the Moon (Lunar Eclipse 26 May 2021)
bulletOperation Bhishma Winter Solstice 2020 finding Earth's axis tilt
bulletOperation Rahu Episode XII Solar Eclipse and Summer Solstice 21 June 2020 How far and how big is the sun
bulletOperation Rahu Episode XI How far is the sun
bulletปฏิบัติการราหู ครั้งที่ 10 (Operation Rahu X) วัดระยะทางโลก - ดวงอาทิตย์ ปรากฏการณ์สุริยะปราคาเต็มดวง
bulletปฏิบัติการชูหลี 4 มุมเอียงโลกยังคง 23.5 หรือไม่ (Operation Chou Li Episode IV)
bulletOperation Eratosthenes Episode II Mar 21, 2019 Measure Earth's circumference with one stick
bulletปฏิบัติการวันสิ้นโลกภาคสาม Operation Doomsday Episode III
bulletOperation Galileo Episode II วัดความเร็วของโลก "หมุนรอบตัวเอง (Rotation) และโคจรรอบดวงอาทิตย์ (Revolution)"
bulletOperation Rahu IX 28 July 2018 Total Lunar Eclipse วัดระยะทางโลก - ดวงจันทร์
bulletOperation Rahu VIII Measuring Distance Earth-Moon ปฏิบัติการข้ามทวีป Thailand - USA
bulletOperation Chou Li Episode III (Measure Earth Axis Tilt With One Stick)
bulletปฏิบัติการไจตระ ถอดรหัสคณิตศาสตร์ขอมพันปี ปราสาทภูเพ็ก สกลนคร
bulletปฏิบัติการดาราศาสตร์ข้ามทวีป Operation Transcontinental Equinox 2016
bulletOperation Bhishma 2016 ปฏิบัติการดาราศาสตร์ข้ามทวีป ..... การหมุนรอบตัวเองและวงโคจรของโลกยังคงปกติหรือไม่?
bulletวัดมุมเอียงของโลก...ด้วยไม้แท่งเดียว
bulletOperation Rahu Episode I measuring earth to moon วัดระยะทางจากโลกถึงดวงจันทร์ ในปรากฏการณ์จันทรุปราคาเต็มดวง
bulletOperation Rahu Episode II สูตรใหม่คำนวณระยะทางโลกไปดวงจันทร์
bulletปฏิบัติการ "เจนัส" วัดมุมเอียงของโลก
bulletOperation Rahu Episode III 4 April 2015 วัดระยะทางโลกไปดวงจันทร์
bulletปฏิบัติการเวกัส 2558 "อีราโต้สทีเน้ส " ภาค 2 วัดโลกทั้งใบด้วยไม้แท่งเดียว
bulletOperation Rahu Episode IV วัดระยะทางโลก - ดวงจันทร์
bulletปฏิบัติการชูหลี (Operation Chou Li) ยืนยันมุมเอียงโลก 23.5 องศา
bulletOperation Rahu Episode V วัดระยะทางโลก - ดวงอาทิตย์
bulletOperation Rahu Episode VI How far and how big is the Moon
bulletOperation Rahu Episode VII How far and how big is the sun
bulletOperation Chou Li Episode II (Measuring Earth's Tilt)
bulletวัดโลกทั้งใบ ไทย กัมพูชา ปฏิบัติการ "อีราโตสทีเนส" ข้ามประเทศ
bulletปฏิบัติการ "กาลิเลโอ" วัดความเร็วการหมุนของโลกที่ปราสาทภูเพ็ก
bulletปฏิบัติการวันสิ้นโลกภาค 2 ข้ามทวีป ปราสาทภูเพ็ก สกลนคร VS ปีรามิดเผ่ามายา เม็กซิโก
dot
แนะนำผู้เขียน
dot
bulletนายกสโมสรโรตารีสกลนคร ปีบริหาร 2556 - 2557
bulletสรรค์สนธิ บุณโยทยาน
dot
สากกะเบือยันเรือรบ กับปราสาทภูเพ็ก สกลนคร
dot
bulletปฏิบัติการอัสวีน่า ปราสาทภูเพ็ก (Operation Ashvina 23 Sep 2019)
bulletพระพุทธรูปศิลปะขอมซ่อนอยู่ใต้โพรงหินที่ปราสาทภูเพ็ก.....สื่อถึงอะไร
bulletภูเพ็ก....เมกกะโปรเจค นครที่สาปสูญ
bulletปฏิบัติการวันสิ้นโลก 2012 ท้าพิสูจน์ที่ปราสาทภูเพ็ก สกลนคร
bulletความเป็นมาของปราสาทภูเพ็ก
bulletตลึง ! พบ “ฝายหินพันปี” กลางป่าภูเพ็ก
bulletครบรอบ 10 ปี การค้นพบ "สุริยะปฏิทินพันปี" ปราสาทภูเพ็ก
bulletปรากฏการณ์ดาราศาสตร์ "เหมายัน" 21 -22 ธันวาคม ที่ปราสาทภูเพ็ก
bulletเผยเทคนิคการออกแบบก่อสร้างปราสาทภูเพ็ก
bulletความเป็นมาของสุริยปฏิทิน
bulletพิสูจน์สุริยะวิถี กับปฏิทินมหาศักราชที่ปราสาทภูเพ็ก
bulletรับพลัง "สุริยันจันทรา" ประชันดาวหางแพนสตาร์
dot
เปิดโลกวิทยาศาสตร์
dot
bulletปลูกป่าส่วนตัว กับ 2050 Net Zero Mission Impossible?
bulletพิสูจน์เชิงประจักษ์ "ปลูกป่าให้โตเร็ว" ด้วยธนาคารน้ำใต้ดิน
bulletBiofloc ...... Fish Farm 4.0
bulletทำไมเดือนกุมภาพันธ์ มี 28 วัน
bulletBiofloc Farming เลี้ยงปลาระบบปิด Fisheries 4.0
bulletข้าวหอมมะลิใช้น้ำน้อย 2019
bulletClimate Change Mitigation & Adaptation "It's Now or Never"
bulletฟาร์มปลาเชิงพาณิชย์ใช้น้ำน้อยระบบ Biofloc
bulletข้าวหอมมะลิใช้น้ำน้อย 2561 (2018)
bulletGroundwater Bank (An alternative water management)
bulletข้าวหอมมะลิกับดาราศาสตร์ ปลูกปีละ 2 ครั้ง ได้หรือไม่?
bulletHow Herbal Medicine Works
bulletระบบให้น้ำโรงเรือนปลูกผักบริษัทประชารัฐ สกลนคร
bulletป่าเศรษฐกิจครอบครัวทางเลือกใหม่ win win ทั้งชาวบ้านและรัฐบาล
bulletEarth and Space Class
bulletวิเคราะห์ฤกษ์รัตนโกสินทร์ในมุมวิทยาศาสตร์
bulletปฏิบัติการพิมาย ชาตินี้มีครั้งเดียว Operation Phimai Once or Never
bulletนาฬิกาแดดโรงเรียนวิถีธรรม ม.ราชภัฏสกลนคร
bulletทำไมชาวมายาในเม็กซิโกจึงมีรูปร่างหน้าเหมือนคนเอเซีย
bulletปรากฏการณ์ดวงอาทิตย์ตรงศรีษะ (sun overhead)
bulletเกาะติดไปกับยาน New Horizons เผยความลับพลูโต "ดาวเคราะห์ลูกเมียน้อย"
bulletทำนาน้ำน้อยแต่ผลผลิตสูง เป็นไปได้หรือไม่ More Rice With Less Water?
bullet21-22 มิถุนายน ปรากฏการณ์ดาราศาสตร์ "ครีษมายัน" Summer Solstice กลางวันยาวที่สุดในรอบปี
bulletดางหาง ISON ปรากฏการณ์ดาราศาสตร์ปิดท้ายปี 2556
bulletมองหมากเม่าผ่านมิติดาราศาสตร์
bulletดาราศาสตร์ที่เราเห็น.....ล้วนเป็นภาพลวงตา
bulletเข้าพรรษาบางปีทำไมต้องเดือน 8-8
bulletประสบการณ์ตรงเรื่อง "ยูเอฟโอ" ผมคิดแบบวิทยาศาสตร์
bulletเกาะติดการค้นหาชีวิตบนดาวอังคาร กับยาน Curiosity
bulletหม้อหุงข้าวพลังแสงอาทิตย์ นวัตกรรมติดดิน
bulletนาฬิกาแดดต้นแบบมิติเวลาของมนุษยชาติ
bulletภาคปฏิบัติ....วัดโลกทั้งใบด้วยไม้แท่งเดียว
bulletการอบรมเชิงปฏิบัติการ "อีราโทสทีเนส"
bulletชวนครูไทย วัดโลกทั้งใบ ด้วยไม้แท่งเดียว
dot
จับประเด็นร้อน
dot
bulletอะไรจะเกิดขึ้นถ้าแม่น้ำโขงเผชิญกับสภาพ "ไร้ตะกอน" (Hungry River)
bulletฤาตำนานหนองหารล่ม.....จะกลายเป็นเรื่องจริง
bulletทำไมคนถึงอยากครอบครอง "ดอนสวรรค์" ในบึงหนองหาร สกลนคร
bulletกู้ "หนองหาร" ด้วยมือเรา.....เริ่มต้นที่บ้าน
bulletบทเรียนอันเจ็บปวดของเขื่อนในอเมริกา....ฤา จะสะท้อนสามแสนล้านบาทเพื่อจัดการน้ำของไทย
bulletโบราณวัตถุพันปีสกลนคร....อยู่ในภาวะเสี่ยงสูญหาย
bulletภัยมืดรุกชาวสกล...จากสาหร่ายพิษในหนองหาร
bulletน้ำท่วม "ตัวเมืองสกล" บทเรียนที่น่าจะถึงเวลาสรุปเสียที
bulletพายุ "นกกระเตน" ทำเสียหายสวนยางเมืองสกล
bulletฤา...นโยบาย 300 บาท จะช่วยบรรเทาปัญหา “หัวดำออก หัวหงอกเลี้ยง”
dot
อินเดียน่าโจนส์ (ภาคสรรค์สนธิ)
dot
bulletThe Cosmic Code of Borobudur รหัสจักรวาลแห่งบูโรพุทโธ
bulletThe Riddle of Ayutthaya
bulletทำไมวันปีใหม่ต้องเป็น 1 มกราคม? Why does the new year begin on January 1 ?
bulletผลการดูงานสหกรณ์การเกษตรประเทศไต้หวัน 23 - 26 สิงหาคม 2559
bulletประกาศิตเทพเจ้ากูกูลข่าน The Return of God Kukulkan
bulletวางผังเมืองเชียงใหม่ด้วยวิธีดาราศาสตร์
bulletกุมภาพันธ์ ปี "อธิกสุรทิน" ทำไมต้อง 29 วัน
bulletมองผ่านประตูพระธาตุพนมในอีกมุม
bulletจับพิรุธรูปสลักหินอ่อน "กษัตริย์เดวิท" ที่เมืองฟอร์เรนซ์
bulletย้อนอดีตกรุงเก่าอยุธยา ถือฤกษ์ "รามนะวามิ"
bulletท่อน้ำศักดิ์สิทธิ์ "โสมสูตร" ที่ปราสาทขอมในกัมพูชาหายไปไหนหมด
bulletอาทิตย์ตั้งฉากกับพุทธสถานชื่อดังในวันวิสาขบูชาโลก
bulletปราสาทพิมายในมุมมองวิทยาศาสตร์
bulletมองปราสาทขอม ในแง่มุมดาราศาสตร์ การเมือง และความเชื่อ โดยนักรบออนไลน์ กับไกด์มืออาชีพ
bulletตรุษจีน ตรุษเวียต ตรุษไทสกล และบุญเบิกฟ้า
bulletปริศนา "ปราสาทบายน" ฤา.....มนุษยชาติจะผ่านพ้นความขัดแย้ง
bulletประสูติ ตรัสรู้ ปรินิพพาน ทำไมต้องใช้ชื่อว่า "วิสาขะ"
bulletราหู.....น้ำอมฤต.....สนามบินสุวรรณภูมิ
bulletอาณาจักร "ทวารวดี" ทำไมจึงล่มสลาย
bullet"มาฆบูชา" ทำไมต้องใช้ชื่อนี้
bullet"ทัชมาฮาล" ในมุมมองดาราศาสตร์
bulletคำสอนพุทธองค์เปล่งประกายอีกครั้งในดินแดนภารตะ
bulletเมือง "สารนาท" ที่มาแห่งวันอาสาฬหบูชา
bulletแกะรอย "สุริยะเทพ" ที่ปราสาทพนมบาเค็ง
bulletถอดความศิลาจารึกพระเจ้าชัยวรมันที่ 7 พบ "ฤกษ์อโรคยาศาล"
bulletปราสาทหินพิมาย กับสามเหลี่ยมพุทธมหายาน
bulletจากพระธาตุเชิงชุม ถึงพุทธคยา
bulletถอดรหัสขอมพันปี 80 องศา พบราศีเมษ
bulletไขปริศนาปราสาทพนมรุ้ง
bullet13 เมษายน 2551 วันสงกรานต์ จริงหรือ ?
bullet21 มี.ค. 51 ปรากฏการณ์ทางดาราศาสตร์ที่ยิ่งใหญ่ของโลก
bulletตำนานวันปีใหม่ มิติแห่งกาลเวลาของมนุษยชาติ
bulletเข้าพรรษา ปี 2550 ทำไมต้องมีเดือนแปดสองหน
bulletมหาสงกรานต์ 13–15 เม.ย.
bulletปฏิบัติการอีราโตสทีเนสวัดโลกทั้งใบ ด้วยไม้แท่งเดียว
bulletบ่าวคำหอม ล่ะเบ๋อ
bulletแวดวง BCL.
bulletปฏิบัติการ "อีราโทสทีเนส" วัดเส้นรอบวงโลกด้วยไม้แท่งเดียว




ประสูติ ตรัสรู้ ปรินิพพาน ทำไมต้องใช้ชื่อว่า "วิสาขะ"

 

       ประสูติ ตรัสรู้ ปรินิพพาน ทำไมต้องใช้ชื่อ "วิสาขะ"

          "วิสาขบูชา" 29 พฤษภาคม 2561 ขึ้น 15 ค่ำ เดือน 7 เวียนมาอีกครั้งหนึ่ง เชื่อว่าเรื่องราวสาระสำคัญแห่งพุทธประวัติที่เกี่ยวข้องกับการประสูติ ตรัสรู้ และปรินิพพาน ขององค์สัมมาสัมพุทธเจ้าต้องเป็นที่ประจักษ์แก่ชาวพุทธทั้งมวลอยู่แล้ว คงไม่ต้องฉายหนังซ้ำเหมือนเอามะพร้าวมาขายชาวสวน ในที่นี้ขอเสนอเรื่องราวที่มาของชื่อ "วิสาขะ" ทำไมต้องใช้ชื่อนี้ ?

 

  

"วิสาขบูชา" ทำให้เราๆท่านๆที่เป็นชาวพุทธรำลึกถึงการประสูติที่ลุมพินีสถาน (ปัจจุบันประเทศเนปาล) ตรัสรู้ที่พุทธคยา และปรินิพพานที่เมืองกุสินารา (ประเทศอินเดีย) ผมได้ไปสถานที่เหล่านั้นตรงกับช่วงวันปีใหม่ 2552 อนึ่ง ปี พ.ศ.2561 นี้ วันวิสาขบูชาถูกจัดให้ไปตรงกับขึ้น 15 ค่ำ เดือน 7 แทนที่จะเป็นเดือน 6 เพราะเป็น "อธิกมาส" (เดือนแปดสองครั้ง) เกิดจาการปรับชดเชยระหว่างปฏิทินจันทรคติ (354 วัน) กับปฏิทินสุริยคติ (365 วัน) เพื่อให้วันสำคัญทางพุทธศาสนายังคงอยู่ในช่วงฤดูกาลตามพุทธบัญัติ 

 

          องค์การสหประชาชาติมีมติให้วัน "วิสาขะ" เป็นวันสำคัญแห่งศาสนาของโลก

          เมื่อวันที่ 15 ธันวาคม 2542 ที่ประชุมใหญ่องค์การสหประชาชาติลงมติให้วัน "พระจันทร์เต็มดวง" ของเดือนพฤษภาคม เป็นวัน "วิสาขะแห่งโลก" (International Recognition of the Day of Vesak) และประกาศให้เริ่มการเฉลิมฉลองตั้งแต่ปี 2543 เป็นต้นไป โดยจัดขึ้นครั้งแรก ณ สำนักงานใหญ่ที่กรุงนิวยอกส์ สหรัฐอเมริกา เมื่อวันที่ 13 พฤษภาคม 2543 ต่อมากิจกรรมนี้เข้าสู่การประชุมใหญ่ของคณะกรรมการพุทธแห่งโลก (Joint Communique World Buddhist Leaders Conference on the International Recognition of the Day of Vesak) วันที่ 25 พฤษภาคม 2547 ณ พุทธมณฑล นครปฐม ประเทศไทย ที่ประชุมมีมติให้ประเทศสมาชิกผลัดกันเป็นเจ้าภาพจัดวันวิสาขะโลก โดยประเทศไทยเป็นผู้เริ่มต้นก่อน และปี 2557 วันที่ 13 พฤษภาคม ประเทศเวียดนามเป็นเจ้าภาพจัดกิจกรรมที่วัดไบดิ่น (Bai Dinh Temple) จังหวัดนิน บิ่น (Ninh Binh Province)    

 

  

องค์การสหประชาชาติ มีมติเมื่อวันที่ 15 ธันวาคม 2542 ให้เริ่มจัดกิจกรรมเฉลิมฉลองวันวิสาขบูชาตั้งแต่ปี 2543 เป็นต้นไป และมีการจัดงานขึ้นครั้งแรกที่สำนักงานใหญ่ ณ กรุงนิวยอกส์ มีผู้แทนชาวพุทธจากประเทศต่างๆเข้าร่วม 34 ประเทศ

 

 แผนที่แสดงเมืองนิน บิ่น ประเทศเวียดนาม และโลโก้ของงาน "วันวิสาขะโลก ครั้งที่ 11" 

 

สถานที่จัดงาน ณ วัดไบดิ่น

 

การประชุมเตรียมจัดงานที่กรุงฮานอย 

 

การประชุมระหว่างวันที่ 19-20 มีนาคม 2014 มีผู้แทนจากประเทศสมาชิกเข้าร่วมอย่างคับคั่ง

 

 

 

ปี 2017 ประเทศศรีลังกาเป็นเจ้าภาพ และปี 2018 ประเทศไทยเป็นเจ้าภาพ (อนึ่งการนับปี พ.ศ.ของศรีลังกาและไทยใช้คนละหลักการ ทำให้ พ.ศ.ของศรัลังกาเร็วกว่าไทย 1 ปี ดังนั้นจึงต้องใช้ ค.ศ.เป็นตัวเชื่อมระหว่างทั้งสองประเทศ) 

 

       ทำไมต้องใช้ชื่อวันนี้ว่า "วิสาขะ" หรือ "วิสาขบูชา" 

          เป็นที่ทราบดีว่าศาสนาพุทธมีต้นกำเนิดจากดินแดนภารตะหรืออินเดียโบราณ ดังนั้นรากฐานของความเชื่อและวิธีการปฏิบัติต่างๆก็ย่อมอยู่ใต้อิทธิพลของอินเดียโบราณ สังคมของอินเดียในยุคนั้นได้รับมรดกเรื่องราวของดาราศาสตร์และโหราศาสตร์มาจากดินแดนลุ่มน้ำไตกรีสและยูเฟรตีสที่มีชื่อว่า "อาณาจักรบาบิโลน" ทำให้นักปราชญ์ของอินเดียจัดทำปฏิทิน "จันทรคติ" (Lunar Calendar) โดยใช้ดาวฤกษ์จำนวน 27 ดวง เรียกว่า "นักษัตร" (Nakshatra) กำหนดให้ดวงจันทร์โคจรผ่านดาวฤกษ์เหล่านี้ในอัตราเฉลี่ยเดือนละ 27.3 วัน และแต่ละนักษัตรก็แบ่งออกเป็นพื้นที่บนท้องฟ้า 13.33 องศา เมื่อดวงจันทร์ ขึ้น15 ค่ำ (Full Moon) โคจรเข้ามาอยู่ในเรือนของนักษัตร "วิสาขะ" (Vishaka) จึงตั้งชื่อปรากฏการณ์นี้ว่าเดือนแห่งวิสาขะ

          และก็เป็นที่ทราบอีกเช่นเดียวกันว่าวันสำคัญแห่งศาสนาพุทธอันได้แก่ ประสูติ ตรัสรู้ และปรินิพพาน เกิดขึ้นตรงกับวันเพ็ญแห่งเดือน "วิสาขะ" จึงเรียกวันนี้ว่า "วิสาขะ" ตามชื่อเดือน ปัจจุบันทางการประเทศอินเดียกำหนดให้วันวิสาขะเป็นวันหยุดราชการ โดยกำหนดอยู่ในหนังสือราชกิจจานุเบกษา (Gazetted holiday) ของทุกปี อย่างไรก็ตามวันวิสาขะมีชื่อเรียกต่างกันในประเทศอินเดีย เช่น Buddha Jayanti, Buddha Purnima, Vaishaka Purnima,  Vesak, Vesakha, Baisakha เป็นต้น ส่วนประเทศที่นับถือพุทธก็มีชื่อเรียกวันนี้ของตนเอง    

 

 

 

ดาวฤกษ์ 27 นักษัตร เกาะตัวอยู่กับจักรราศี 12 ราศี ที่ดวงจันทร์โคจรผ่านในแต่ละเดือน

 

 

วันวิสาขะ 13 พฤษภาคม 2557 ดวงจันทร์เข้ามาอยู่ในเรือนของนักษัตร "วิสาขะ" (ราศรีคันชั่ง Zodiac Libra) แถมมีดาวเสาร์ปรากฏกายอยู่ใกล้กัน 

 

วันวิสาขะ 1 มิถุนายน 2558 ดวงจันทร์อยู่ในนักษัตร "วิสาขะ" หรือ ราศีคันช่าง และมีดาวเสาร์ปรากฏที่ฐานของคันช่าง

 

ปี 2561 วันวิสาขะตรงกับ 29 พฤษภาคม ขึ้น 15 ค่ำ เดือน 7 ดวงจันทร์อยู่ในนักษัตร "วิสาขะ" (Nakshatra Vishakha) หรือ ราศีคันช่าง (Libra) มีดาวพฤหัสปรากฏอยู่ที่ด้านบน

 

          ระดับนานาชาติรู้จักวันนี้ว่า Lord Buddha's Birthday โดยที่ประชุม World Fellowship of Buddhists เมื่อ ปี พ.ศ. 2493 ตกลงที่จะเฉลิมฉลองวันนี้อย่างเป็นทางการ อนึ่งสถานที่ประสูติมีจารึกอยู่ในเสาหินของพระเจ้าอโศกมหาราช ที่ลุมพินีสถาน ประเทศเนปาล

 

คำจารึกของพระเจ้าอโศกมหาราชที่เสาหิน มีใจความว่า หลังจากที่ขึ้นครองราชได้ยี่สิบปี ข้าพเจ้านามว่ากษัตริย์ปิยะดาซิ (อโศก) ผู้เป็นที่รักแห่งพระองค์ ได้มาสักการะสถานที่แห่งนี้เพราะที่นี่คือที่ประสูติของพุทธองค์แห่งเชื้อสายสากยะนี 

 

นอกจากเสาหินแล้วพระเจ้าอโศกมหาราชยังได้ก่อสร้างอาคารและมีรูปสลัก "ประสูติ" ที่ใต้ต้นสาละ พร้อมกับวางก้อนหิน (Stone-mark) ไว้ที่บริเวณประสูติ ปัจจุบันสถานที่นี้ถูกขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลกและทางการเนปาลได้ใช้ครอบแก้วกันกระสุนปิดทับก้อนหินดังกล่าวไว้ นักท่องเที่ยวที่ต้องการชมก็ต้องยืนต่อแถวเข้าชมทีละคน

 

 

ผมก็ไปที่นั่นเช่นกันเพื่อสักการะสถานที่ประสูติ

 

ก่อนข้ามพรมแดนจากอินเดียไปประเทศเนปาลนักท่องเที่ยวชาวไทยต้องแวะที่วัดไทยที่ตั้งอยู่ใกล้ชายแดนของทั้งสองประเทศ

 

 พุทธคยา ริมฝั่งแม่น้ำเนรันชลา ใกล้ๆกับเมืองกาย่า (Gaya) เป็นสถานที่ตรัสรู้

 

 

 สถานที่ปรินิพพานเมืองกุสินารา เป็นอีกแห่งที่เกี่ยวข้องกับวันวิสาขะ

 

 

 

          วันนี้ 1 มิถุนายน 2558 ดวงจันทร์เต็มดวงจะขึ้นที่ทิศตะวันออกเฉียงใต้เล็กน้อย ชาวสกลนครที่อยู่ในตัวเมืองก็สามารถไปชมได้ที่ริมหนองหาร โดยใช้ "สุริยะปฏิทินจักรราศี" ที่ริมสระพังทองด้านทิศตะวันออกเป็นเครื่องนำสายตา (viewing point)

  

 

           ผมหวังว่าบทความนี้คงให้ความกระจ่างที่มาของชื่อ "วิสาขะ" แก่เราๆท่านๆที่เป็นแฟนคลับของ www.yclsakhon.com 

 

 

 

 







Copyright © 2010 All Rights Reserved.
มูลนิธิเพื่อการพัฒนาผู้นำธุรกิจและชุมชน
The Foundation for Business and Community Leadership Development
โดย
นายอารีย์ ภู่สมบูญ
ประธานกรรมการมูลนิธิฯ