ReadyPlanet.com
dot
dot
สืบเสาะเจาะลึกเมืองสกล
dot
bulletMegalithic Gate of Equinox ...... Sakon Nakhon Thailand
bulletปฏิทินท่องเที่ยวดาราศาสตร์และโหราศาสตร์เมืองสกล Mar 2024 - Feb 2025
bulletหนองหารหลวง ....... นครแห่ง "สุริยะปฏิทินพันปี"
bulletหนองหารหลวง ........ เมืองแห่ง "มหาสงกรานต์" จริงหรือ?
bulletปราสาทนารายณ์เจงเวง .....อะไรหายไปแล้ว อะไรเสี่ยงสูญหาย
bulletปราสาทภูเพ็ก ถูกดัดแปลง?
bulletสะพานขอมปัจจุบัน ....... โบราณสถานตัวจริง หรือสร้างใหม่?
bulletนาฬิกาแดดขนาดยักษ์เมืองสกล Google Earth ก็มองเห็น
bulletนาฬิกาแดดโรงเรียนวิถีธรรมเมืองสกล ...... มรดกจากบรรพชน
bulletSakon Hempmade มิติใหม่อุตสาหกรรมสิ่งทอ
bulletความรู้ปัจจุบัน ฤาจะเทียบชั้นกับวันวาน Ancient Wisdom V/S Digital Technology
bulletพบฐานรากปราสาทขอมใกล้ลำน้ำก่ำ
bulletปราสาทภูเพ็ก สกลนคร สุดๆแห่งปราสาทขอมในประเทศไทย
bulletปฏิบัติการภูเพ็ก ดอนสวรรค์ พิสูจน์คำทำนายซินแส ฮวงจุ้ยเมืองสกล
bulletสุริยะปฏิทินขอมพันปี
bullet "อาทิตย์ทรงกลด" ณ ปราสาทขอมเมืองสกล วิทยาศาสตร์ที่ลงตัวกับความเชื่อ
bulletโลกล้านปีที่แอ่งสกลนคร
bulletกลุ่มชาติพันธุ์ไทโส้ ....... เป็นใคร ....... มาจากไหน?
bulletพระยาสุระอุทก .......หนองหารหลวง ตำนานที่จับต้องได้
bulletรับพลังสุริยะยุคก่อนประวัติศาสตร์ ...... ที่สกลนคร
bulletกรมศิลปากรโยนหินถาม...เอกสารสิทธิ์ทับคูเมืองสกลโบราณ จะออกทางไหน
bulletหลากมิติอารยธรรม 4 ยุค "บ้านท่าวัด" ริมหนองหาร สกลนคร
bulletถอดจารึกขอม "ภูถ้ำพระ" ทำไมพระพุทธรูปไปอยู่ที่นั่น
bulletปราสาทขอมเมืองสกล.....เอาหินมาจากไหน ?
bulletพระธาตุดุม....ในอีกมุมมอง
bulletมุมมองใหม่ "สะพานขอม" ฝายทดน้ำชลประทาน
bulletไขความลับปราสาทนารายณ์เจงเวง
bulletหนองหารหลวงเมืองหน้าด่าน ยันกับอาณาจักรจาม
bulletไขประตูสู่อดีตพระธาตุเชิงชุม ...... ในอีกมุมมอง
bulletประตูเมืองโบราณสกลนครอยู่ตรงไหน
bulletปฏิบัติการ "มหาสงกรานต์" ไขปริศนาจารึกเมืองสกลโบราณ
dot
เปิดประเด็นการท่องเที่ยว
dot
bulletปราสาทบ้านปรางค์ มิติดาราศาสตร์และศาสตร์แห่งความเชื่อ
bulletปลานิล Biofloc "Safe and Saab"
bulletStory Board มหัศจรรย์ปราสาทภูเพ็ก ตำนานที่จับต้องได้
bulletเรือท่องเที่ยวหนองหารขับเคลื่อนด้วยพลังงานไฟฟ้า
bulletตัวอย่าง เส้นทางท่องเที่ยวสกลนคร 2 วัน 1 คืน
bulletยุทธศาสตร์การท่องเที่ยวเส้นทาง "ราชมรรคา"
bulletTourism Gimmick
bulletTourism Project Proposal
bulletสุริยะปฏิทินจักรราศีดอนสวรรค์ Don Sawan Zodiacal Solar Calendar
bulletSt.Peter's Fish โปรโมทการท่องเที่ยวและสร้างอาชีพใหม่....สกลนคร
bulletBig Project Tourism SNO
bulletAdventure Tourism (Search-Found-Selfie) ลุยป่าค้นหาขอมพันปี
dot
ปฏิบัติการดาราศาสตร์ Operation Astronomy
dot
bulletOperation Equinox 2024
bulletOperation Spica .... ไขปริศนา "เมืองโบราณศรีเทพ"
bulletย้อนอดีต "ราหูอมสุริยา" ก่อนเปลี่ยนแผ่นดินสมเด็จพระนารายณ์มหาราช
bulletOperation Rahu Episode XV วัดระยะทาง โลก - ดวงจันทร์ - ดวงอาทิตย์
bulletเจาะลึกเบื้องหลังเมืองโบราณศรีเทพ Operation Spica EP 2
bulletOperación Intercontinental Solsticio de Invierno ปฏิบัติการดาราศาสตร์ เห-มา-ยัน ข้ามทวีป ไทย - เม็กซิโก ธันวาคม 2022
bulletOperation Rahu Episode XIV Total Lunar Eclipse 8 Nov 2022 How Far is The Moon?
bulletOperation Transcontinental Equinox 2022 ปฏิบัติการวสันตวิษุวัตข้ามทวีป 2565
bulletOperation Chou Li Episode V ..... Earth's axis tilt 23.5?
bulletOperation Rahu Episode XIII How Far is the Moon (Lunar Eclipse 26 May 2021)
bulletOperation Bhishma Winter Solstice 2020 finding Earth's axis tilt
bulletOperation Rahu Episode XII Solar Eclipse and Summer Solstice 21 June 2020 How far and how big is the sun
bulletOperation Rahu Episode XI How far is the sun
bulletปฏิบัติการราหู ครั้งที่ 10 (Operation Rahu X) วัดระยะทางโลก - ดวงอาทิตย์ ปรากฏการณ์สุริยะปราคาเต็มดวง
bulletปฏิบัติการชูหลี 4 มุมเอียงโลกยังคง 23.5 หรือไม่ (Operation Chou Li Episode IV)
bulletOperation Eratosthenes Episode II Mar 21, 2019 Measure Earth's circumference with one stick
bulletปฏิบัติการวันสิ้นโลกภาคสาม Operation Doomsday Episode III
bulletOperation Galileo Episode II วัดความเร็วของโลก "หมุนรอบตัวเอง (Rotation) และโคจรรอบดวงอาทิตย์ (Revolution)"
bulletOperation Rahu IX 28 July 2018 Total Lunar Eclipse วัดระยะทางโลก - ดวงจันทร์
bulletOperation Rahu VIII Measuring Distance Earth-Moon ปฏิบัติการข้ามทวีป Thailand - USA
bulletOperation Chou Li Episode III (Measure Earth Axis Tilt With One Stick)
bulletปฏิบัติการไจตระ ถอดรหัสคณิตศาสตร์ขอมพันปี ปราสาทภูเพ็ก สกลนคร
bulletปฏิบัติการดาราศาสตร์ข้ามทวีป Operation Transcontinental Equinox 2016
bulletOperation Bhishma 2016 ปฏิบัติการดาราศาสตร์ข้ามทวีป ..... การหมุนรอบตัวเองและวงโคจรของโลกยังคงปกติหรือไม่?
bulletวัดมุมเอียงของโลก...ด้วยไม้แท่งเดียว
bulletOperation Rahu Episode I measuring earth to moon วัดระยะทางจากโลกถึงดวงจันทร์ ในปรากฏการณ์จันทรุปราคาเต็มดวง
bulletOperation Rahu Episode II สูตรใหม่คำนวณระยะทางโลกไปดวงจันทร์
bulletปฏิบัติการ "เจนัส" วัดมุมเอียงของโลก
bulletOperation Rahu Episode III 4 April 2015 วัดระยะทางโลกไปดวงจันทร์
bulletปฏิบัติการเวกัส 2558 "อีราโต้สทีเน้ส " ภาค 2 วัดโลกทั้งใบด้วยไม้แท่งเดียว
bulletOperation Rahu Episode IV วัดระยะทางโลก - ดวงจันทร์
bulletปฏิบัติการชูหลี (Operation Chou Li) ยืนยันมุมเอียงโลก 23.5 องศา
bulletOperation Rahu Episode V วัดระยะทางโลก - ดวงอาทิตย์
bulletOperation Rahu Episode VI How far and how big is the Moon
bulletOperation Rahu Episode VII How far and how big is the sun
bulletOperation Chou Li Episode II (Measuring Earth's Tilt)
bulletวัดโลกทั้งใบ ไทย กัมพูชา ปฏิบัติการ "อีราโตสทีเนส" ข้ามประเทศ
bulletปฏิบัติการ "กาลิเลโอ" วัดความเร็วการหมุนของโลกที่ปราสาทภูเพ็ก
bulletปฏิบัติการวันสิ้นโลกภาค 2 ข้ามทวีป ปราสาทภูเพ็ก สกลนคร VS ปีรามิดเผ่ามายา เม็กซิโก
dot
แนะนำผู้เขียน
dot
bulletนายกสโมสรโรตารีสกลนคร ปีบริหาร 2556 - 2557
bulletสรรค์สนธิ บุณโยทยาน
dot
สากกะเบือยันเรือรบ กับปราสาทภูเพ็ก สกลนคร
dot
bulletปฏิบัติการอัสวีน่า ปราสาทภูเพ็ก (Operation Ashvina 23 Sep 2019)
bulletพระพุทธรูปศิลปะขอมซ่อนอยู่ใต้โพรงหินที่ปราสาทภูเพ็ก.....สื่อถึงอะไร
bulletภูเพ็ก....เมกกะโปรเจค นครที่สาปสูญ
bulletปฏิบัติการวันสิ้นโลก 2012 ท้าพิสูจน์ที่ปราสาทภูเพ็ก สกลนคร
bulletความเป็นมาของปราสาทภูเพ็ก
bulletตลึง ! พบ “ฝายหินพันปี” กลางป่าภูเพ็ก
bulletครบรอบ 10 ปี การค้นพบ "สุริยะปฏิทินพันปี" ปราสาทภูเพ็ก
bulletปรากฏการณ์ดาราศาสตร์ "เหมายัน" 21 -22 ธันวาคม ที่ปราสาทภูเพ็ก
bulletเผยเทคนิคการออกแบบก่อสร้างปราสาทภูเพ็ก
bulletความเป็นมาของสุริยปฏิทิน
bulletพิสูจน์สุริยะวิถี กับปฏิทินมหาศักราชที่ปราสาทภูเพ็ก
bulletรับพลัง "สุริยันจันทรา" ประชันดาวหางแพนสตาร์
dot
เปิดโลกวิทยาศาสตร์
dot
bulletปลูกป่าส่วนตัว กับ 2050 Net Zero Mission Impossible?
bulletพิสูจน์เชิงประจักษ์ "ปลูกป่าให้โตเร็ว" ด้วยธนาคารน้ำใต้ดิน
bulletBiofloc ...... Fish Farm 4.0
bulletทำไมเดือนกุมภาพันธ์ มี 28 วัน
bulletBiofloc Farming เลี้ยงปลาระบบปิด Fisheries 4.0
bulletข้าวหอมมะลิใช้น้ำน้อย 2019
bulletClimate Change Mitigation & Adaptation "It's Now or Never"
bulletฟาร์มปลาเชิงพาณิชย์ใช้น้ำน้อยระบบ Biofloc
bulletข้าวหอมมะลิใช้น้ำน้อย 2561 (2018)
bulletGroundwater Bank (An alternative water management)
bulletข้าวหอมมะลิกับดาราศาสตร์ ปลูกปีละ 2 ครั้ง ได้หรือไม่?
bulletHow Herbal Medicine Works
bulletระบบให้น้ำโรงเรือนปลูกผักบริษัทประชารัฐ สกลนคร
bulletป่าเศรษฐกิจครอบครัวทางเลือกใหม่ win win ทั้งชาวบ้านและรัฐบาล
bulletEarth and Space Class
bulletวิเคราะห์ฤกษ์รัตนโกสินทร์ในมุมวิทยาศาสตร์
bulletปฏิบัติการพิมาย ชาตินี้มีครั้งเดียว Operation Phimai Once or Never
bulletนาฬิกาแดดโรงเรียนวิถีธรรม ม.ราชภัฏสกลนคร
bulletทำไมชาวมายาในเม็กซิโกจึงมีรูปร่างหน้าเหมือนคนเอเซีย
bulletปรากฏการณ์ดวงอาทิตย์ตรงศรีษะ (sun overhead)
bulletเกาะติดไปกับยาน New Horizons เผยความลับพลูโต "ดาวเคราะห์ลูกเมียน้อย"
bulletทำนาน้ำน้อยแต่ผลผลิตสูง เป็นไปได้หรือไม่ More Rice With Less Water?
bullet21-22 มิถุนายน ปรากฏการณ์ดาราศาสตร์ "ครีษมายัน" Summer Solstice กลางวันยาวที่สุดในรอบปี
bulletดางหาง ISON ปรากฏการณ์ดาราศาสตร์ปิดท้ายปี 2556
bulletมองหมากเม่าผ่านมิติดาราศาสตร์
bulletดาราศาสตร์ที่เราเห็น.....ล้วนเป็นภาพลวงตา
bulletเข้าพรรษาบางปีทำไมต้องเดือน 8-8
bulletประสบการณ์ตรงเรื่อง "ยูเอฟโอ" ผมคิดแบบวิทยาศาสตร์
bulletเกาะติดการค้นหาชีวิตบนดาวอังคาร กับยาน Curiosity
bulletหม้อหุงข้าวพลังแสงอาทิตย์ นวัตกรรมติดดิน
bulletนาฬิกาแดดต้นแบบมิติเวลาของมนุษยชาติ
bulletภาคปฏิบัติ....วัดโลกทั้งใบด้วยไม้แท่งเดียว
bulletการอบรมเชิงปฏิบัติการ "อีราโทสทีเนส"
bulletชวนครูไทย วัดโลกทั้งใบ ด้วยไม้แท่งเดียว
dot
จับประเด็นร้อน
dot
bulletอะไรจะเกิดขึ้นถ้าแม่น้ำโขงเผชิญกับสภาพ "ไร้ตะกอน" (Hungry River)
bulletฤาตำนานหนองหารล่ม.....จะกลายเป็นเรื่องจริง
bulletทำไมคนถึงอยากครอบครอง "ดอนสวรรค์" ในบึงหนองหาร สกลนคร
bulletกู้ "หนองหาร" ด้วยมือเรา.....เริ่มต้นที่บ้าน
bulletบทเรียนอันเจ็บปวดของเขื่อนในอเมริกา....ฤา จะสะท้อนสามแสนล้านบาทเพื่อจัดการน้ำของไทย
bulletโบราณวัตถุพันปีสกลนคร....อยู่ในภาวะเสี่ยงสูญหาย
bulletภัยมืดรุกชาวสกล...จากสาหร่ายพิษในหนองหาร
bulletน้ำท่วม "ตัวเมืองสกล" บทเรียนที่น่าจะถึงเวลาสรุปเสียที
bulletพายุ "นกกระเตน" ทำเสียหายสวนยางเมืองสกล
bulletฤา...นโยบาย 300 บาท จะช่วยบรรเทาปัญหา “หัวดำออก หัวหงอกเลี้ยง”
dot
อินเดียน่าโจนส์ (ภาคสรรค์สนธิ)
dot
bulletThe Cosmic Code of Borobudur รหัสจักรวาลแห่งบูโรพุทโธ
bulletThe Riddle of Ayutthaya
bulletทำไมวันปีใหม่ต้องเป็น 1 มกราคม? Why does the new year begin on January 1 ?
bulletผลการดูงานสหกรณ์การเกษตรประเทศไต้หวัน 23 - 26 สิงหาคม 2559
bulletประกาศิตเทพเจ้ากูกูลข่าน The Return of God Kukulkan
bulletวางผังเมืองเชียงใหม่ด้วยวิธีดาราศาสตร์
bulletกุมภาพันธ์ ปี "อธิกสุรทิน" ทำไมต้อง 29 วัน
bulletมองผ่านประตูพระธาตุพนมในอีกมุม
bulletจับพิรุธรูปสลักหินอ่อน "กษัตริย์เดวิท" ที่เมืองฟอร์เรนซ์
bulletย้อนอดีตกรุงเก่าอยุธยา ถือฤกษ์ "รามนะวามิ"
bulletท่อน้ำศักดิ์สิทธิ์ "โสมสูตร" ที่ปราสาทขอมในกัมพูชาหายไปไหนหมด
bulletอาทิตย์ตั้งฉากกับพุทธสถานชื่อดังในวันวิสาขบูชาโลก
bulletปราสาทพิมายในมุมมองวิทยาศาสตร์
bulletมองปราสาทขอม ในแง่มุมดาราศาสตร์ การเมือง และความเชื่อ โดยนักรบออนไลน์ กับไกด์มืออาชีพ
bulletตรุษจีน ตรุษเวียต ตรุษไทสกล และบุญเบิกฟ้า
bulletปริศนา "ปราสาทบายน" ฤา.....มนุษยชาติจะผ่านพ้นความขัดแย้ง
bulletประสูติ ตรัสรู้ ปรินิพพาน ทำไมต้องใช้ชื่อว่า "วิสาขะ"
bulletราหู.....น้ำอมฤต.....สนามบินสุวรรณภูมิ
bulletอาณาจักร "ทวารวดี" ทำไมจึงล่มสลาย
bullet"มาฆบูชา" ทำไมต้องใช้ชื่อนี้
bullet"ทัชมาฮาล" ในมุมมองดาราศาสตร์
bulletคำสอนพุทธองค์เปล่งประกายอีกครั้งในดินแดนภารตะ
bulletเมือง "สารนาท" ที่มาแห่งวันอาสาฬหบูชา
bulletแกะรอย "สุริยะเทพ" ที่ปราสาทพนมบาเค็ง
bulletถอดความศิลาจารึกพระเจ้าชัยวรมันที่ 7 พบ "ฤกษ์อโรคยาศาล"
bulletปราสาทหินพิมาย กับสามเหลี่ยมพุทธมหายาน
bulletจากพระธาตุเชิงชุม ถึงพุทธคยา
bulletถอดรหัสขอมพันปี 80 องศา พบราศีเมษ
bulletไขปริศนาปราสาทพนมรุ้ง
bullet13 เมษายน 2551 วันสงกรานต์ จริงหรือ ?
bullet21 มี.ค. 51 ปรากฏการณ์ทางดาราศาสตร์ที่ยิ่งใหญ่ของโลก
bulletตำนานวันปีใหม่ มิติแห่งกาลเวลาของมนุษยชาติ
bulletเข้าพรรษา ปี 2550 ทำไมต้องมีเดือนแปดสองหน
bulletมหาสงกรานต์ 13–15 เม.ย.
bulletปฏิบัติการอีราโตสทีเนสวัดโลกทั้งใบ ด้วยไม้แท่งเดียว
bulletบ่าวคำหอม ล่ะเบ๋อ
bulletแวดวง BCL.
bulletปฏิบัติการ "อีราโทสทีเนส" วัดเส้นรอบวงโลกด้วยไม้แท่งเดียว




ตลึง ! พบ “ฝายหินพันปี” กลางป่าภูเพ็ก

ตลึง ! พบ “ฝายหินพันปี” กลางป่าภูเพ็ก

 

                   ผมสนใจศึกษาและค้นคว้าเรื่องราวของปราสาทภูเพ็กที่จังหวัดสกลนครอย่างจริงจัง ตั้งแต่ปี พ.ศ.2543 และพบว่าปราสาทหลังนี้นอกจากเป็นศาสนสถานแล้วยังมีลักษณะพิเศษ คือเป็น "สุริยะปฏิทิน" เหมือนกับโบราณสถานอีกหลายๆแห่งของโลก เช่น มหาปีรามิดที่อียิปส์ มาชูปิกชูที่เปรู ประตูแห่งสุริยะที่โบลิเวีย และปิรามิดกูกูลข่านที่เม็กซิโก 

            แต่สิ่งหนึ่งที่คิดอยู่ตลอดแต่ยังค้นไม่พบคือ "แหล่งน้ำเพื่อการอุปโภค-บริโภค" เพื่อรองรับการก่อสร้างขนาดใหญ่ หากไม่มีน้ำในปริมาณที่เพียงพอสำหรับคนงานและผู้เกี่ยวข้อง รับรองว่าปราสาทหลังนี้ไม่มีสิทธิจะเกิดเพราะแค่ยกกำลังคนสักหนึ่งกองร้อยเข้าไปเคลียส์พื้นที่ก็อดน้ำตายภายใน 2 วัน ดังนั้นการค้นพบฝายหินพันปีในครั้งนี้ทำให้ผมตอบโจทย์ได้คล่องตัวขึ้นเยอะ  

       ทีมงาน “พยัคฆ์ภูเพ็ก” ค้นพบฝายหินโบราณยุคเดียวกับปราสาท ภูเพ็ก ซ่อนตัวอยู่ในลำห้วยกลางป่าบนภูเขา “ภูเพ็ก”  ที่พิกัด N 17 – 12 - 00.90  E 103 – 56 – 49.13  เหนือระดับน้ำทะเลประมาณ 250 เมตร ขึ้นกับเขตปกครองบ้านภูเพ็ก ต.นาหัวบ่อ อ.พรรณานิคม จังหวัดสกลนคร ฝายแห่งนี้ถูกสร้างขึ้นเพื่อเป็นแหล่งน้ำอุปโภค-บริโภค รองรับโครงการก่อสร้างตัวปราสาทภูเพ็กและชุมชนในบริเวณรอบๆ แต่การทิ้งงานอย่างกระทันหันด้วยเหตุผลทางการเมือง ทำให้ตัวฝายถูกกาลเวลาฝังกลบลงไปใต้ดินจนเกือบหมด อย่างไรก็ตามด้วยการหาข่าวอย่างเจาะลึกบวกกับสายตาอันเฉียบคมของทีมงานพยัคฆ์ภูเพ็ก ทำให้ฝายลึกลับแห่งนี้ปรากฏต่อสายตาของเราๆท่านๆอีกคำรบหนึ่ง

 

 
 
 

คำบอกเล่าของลุงสมเด็จฯผู้อวุโสแห่งบ้านภูเพ็ก...... ที่ลำธาร “วังกกไฮ” บนภูเขาภูเพ็ก มีกองหินสี่เหลี่ยมหล่นอยู่จำนวนหนึ่ง  เห็นมาหลายปีแล้ว แต่ไม่ได้สนใจว่ามันคืออะไร 

       เมื่อวันที่ 26 มีนาคม 2554 ทีมงาน “พยัคฆ์ภูเพ็ก” นำโดยอาจารย์วรวิทย์ ตงศิริ หรือ “ฤษีเอกอมตะ” พร้อมด้วยผู้ใหญ่บ้านภูเพ็กนายสุรพจน์ ศรีสมรส และนายสรรค์สนธิ บุณโยทยาน นักพิภพวิทยาที่ปรึกษาของทีมงาน รุดหน้าไปยังลำธาร "วังกกไฮ" กลางป่าภูเพ็กตามคำบอกเล่าของลุงสมเด็จฯ เมื่อไปถึงก็ได้เห็นก้อนหินทรายลักษณะสี่เหลี่ยมกองระเนระนาดอยู่ที่นั่นจริงๆ

 

 

 

แผนที่ Google Earth แสดงตำแหน่งที่ตั้งฝายหินในลำธาร “วังกกไฮ” บนภูเขาภูเพ็ก ซึ่งรับน้ำจากบริเวณสันปันน้ำของภูเขาและไหลไปลงยังอ่างเก็บน้ำด้านล่างติดกับหมู่บ้านภูเพ็ก 

 

 

 

 

 
 
 
 

บ่ายแก่ๆวันที่ 26 มีนาคม 2554 ทีมงานเดินเข้าไปที่ลำธารวังกกไฮ ทางด้านทิศตะวันออกของถนนลาดยางทางขึ้นปราสาทภูเพ็กประมาณสี่ร้อยกว่าเมตร พบว่ากองหินดังกล่าวน่าจะเป็นสันฝายโดยมีฐานรากฝังอยู่ใต้ดิน จากการสังเกตภูมิประเทศพบว่าลำธารช่วงนี้มีความราบเรียบ เหมาะแก่การก่อสร้างฝายตามหลักวิศวกรรมชลประทาน   

การวิเคราะห์เบื้องต้นพบว่ากองหินถูกวางในลักษณะขวางตัวลำธาร และบริเวณต้นน้ำ (up-stream) กับท้ายน้ำ (down-stream) มีความราบเรียบและค่อนข้างยาว ถูกสะเป็กของการก่อฝายน้ำล้นอย่างยิ่ง เพราะสามารถเก็บกักน้ำได้ปริมาณมาก และตัวฝายก็ไม่ต้องรับภาระแรงดันของน้ำมากนัก    

วันที่ 6 เมษายน 2544 ทีมงานพยัคฆ์ภูเพ็ก ได้ฤกษ์เข้าไปขุดสำรวจโดยมีอาสาสมัครจากวัยรุ่นในหมู่บ้านภูเพ็ก ภายใต้การอำนวยการของ อาจารย์วรวิทย์ ตงศิริ หรือฤษีเอกอมตะ ทำหน้าที่จุดธูปขอขมาต่อสิ่งศักดิ์สิทธิ์ประจำถิ่น เพื่อให้การขุดสำรวจเป็นไปด้วยดี ช่วงนั้นผมอยู่ที่อเมริกาตั้งแต่วันที่ 1 เมษายน ก็ต้องสื่อสารกันทาง facebook   

 
 
 

 

ขุดไปได้พักใหญ่ก็พบว่ามันเป็นฝายหินสำหรับทดน้ำจริงๆ เพราะมีการวางฐานรากอย่างเป็นระเบียบกั้นตัวลำธารและลึกลงไปใต้ดิน ทุกคนคาดไม่ถึงว่าจะพบโครงการชลประทานโบราณอายุร่วมพันปีซ่อนตัวอยู่บนภูเขาแห่งนี้

 

 

 

 

 

จากหลักฐานที่เห็นอย่างเชิงประจักษ์ ทำให้ทุกคนแน่ใจว่านี่คือฝายหินเพื่อการอุปโภค-บริโภค สำหรับรองรับการก่อสร้างปราสาทภูเพ็กและปราสาทลูกรวมทั้งชุมชนรอบๆบริเวณ อนึ่งทีมงานไม่ได้เคลื่อนย้ายก้อนหินแม้แต่ชิ้นเดียวของเดิมวางอยู่ลักษณะไหนก็ปล่อยให้อยู่เหมือนเดิมเพราะทราบดีว่านี่คือหลักฐานทางประวัติศาสตร์ 

 

 

 

 

หินทรายก้อนสี่เหลี่ยมถูกจัดวางเป็นฐานรากลึกลงไปใต้ดิน และมีความหนาของตัวฝายประมาณ 5 เมตร ส่วนความยาวของตัวฝายยังประมาณไม่ได้เพราะกินลึกเข้าไปในตลิ่งทั้งสองด้าน

 

 

พบชิ้นส่วนของภาชนะดินเผา รูปร่างเหมือนไห ตกอยู่ในซอกหินทำให้รู้ว่าฝายแห่งนี้มีการใช้งานแล้ว เพราะน่าจะเป็นภาชนะสำหรับใส่น้ำถูกทำหลุดมือหล่นโดยบังเอิญ เจ้าของเลยทิ้งไว้

ผมกลับจากอเมริกาก็รีบไปเก็บข้อมูลเพิ่มเติมอีกครั้งเมื่อวันที่ 3 พฤษภาคม 2554 พบว่ามีน้ำขังอยู่เต็มลำธารเป็นลักษณะน้ำนิ่งแสดงว่าตัวลำธารบริเวณนี้มีความราบเรียบจริงๆ และนี่คือฝายทดน้ำอายุร่วมพันปี "ตัวจริงเสียงจริง"

       

วันที่ 9 มิถุนายน 2554 ได้เข้าร่วมประชุมกับหัวหน้าผู้ตรวจราชการกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมเขต 11 โดยมีหัวหน้าส่วนราชการของกระทรวงดังกล่าวเข้าประชุมด้วย  ในหมวกของที่ปรึกษาผู้ตรวจราชการภาคประชาชนด้านสิ่งแวดล้อมประจำจังหวัดสกลนคร ผมเสนอให้อุทยานแห่งชาติภูพานรับเป็นเจ้าเรื่องในการฟื้นฟูสภาพของฝายหินภูเพ็กเพื่อเป็นแหล่งท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์ ที่ประชุมให้ความเห็นชอบและมอบให้หัวหน้าอุทยานแห่งชาติภูพานรับไปดำเนินการในฤดูแล้งปีต่อไป  

 

 

 

        การเลือกทำเลก่อสร้างฝายเก็บน้ำ .... ตามหลักวิศวกรรมชลประทาน

           เป็นที่ทราบโดยชัดแจ้งแล้วว่าบรรพชนที่เราๆท่านๆเรียกพวกเขาว่า "ขอม" มีความรู้ด้านวิศวกรรมระดับเทพไม่งั้นปราสาทหินที่ยืนตระหง่านจำนวนหลายร้อยแห่งจะเกิดขึ้นไม่ได้ การสร้างฝายเก็บน้ำเพื่ออุปโภคบริโภคก็ต้องใช้ความรู้ "วิศวกรรมชลประทาน" ที่พวกเขาชำนาญอยู่แล้ว ดังนั้นจึงต้องสำรวจหาสถานที่ตามแนวลำธารบนภูเขาซึ่งมีความราบเรียบเป็นระยะทางยาวเพื่อให้เก็บกักน้ำได้มาก อนึ่งตามหลักวิศวกรรมชลประทาน "ฝายชลอน้ำ" กับ "ฝายเก็บกักน้ำ" มีลักษณะต่างกัน 

 

สถานที่ก่อสร้างฝายเก็บกักน้ำบนภูเขาภูเพ็กถูกเลือกให้อยู่ในทำเลที่ราบเรียบเป็นระยะทางยาวประมาณ 250 เมตร

 

แสดงพิกัดตำแหน่งฝายขอมพันปี 17 12 01.23 N 103 56 49.37 E

 

 

ความแตกต่างระหว่างฝายชลอน้ำกับฝายเก็บกักน้ำ

 

ภาพนี้แสดงให้เห็นว่าตัวลำธารบริเวณนี้มีความราบเรียบเหมาะแก่การสร้างฝายเก็บกักน้ำ

 

ยิงมุมกล้องจากบริเวณ upstream ของตัวฝายเพื่อให้เห็นความราบเรียบ

 

ภาพถ่ายในฤดูฝนยืนยันว่าบริเวณ upstream ของตัวฝายมีความราบเรียบเพราะ "น้ำนิ่ง"

 

เปรียบเทียบลักษณะลำธารบนภูเขาภูเพ็กระหว่างลาดชัน (Slope) กับราบเรียบ (Flat) 

 

                   สำนักศิลปากรที่ 10 และอุทยานแห่งชาติภูพาน จับมือขุดลอกฝายขอมพันปี หวังให้เป็นแหล่งท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม

          วันที่ 30 พฤษภาคม  2557 คณะเจ้าหน้าที่สำนักศิลปากร ที่ 10 จากจังหวัดร้อยเอ็ด และคณะเจ้าหน้าที่อุทยานแห่งชาติภูพาน พร้อมด้วยอาสาสมัครท้องถิ่นและนักเรียนจากโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคอีสาน ร่วมกับขุดลอกฝายขอมพันปีเพื่อหวังให้เป็นแหล่งท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม และขณะเดียวกันก็เป็นแหล่งดูงานความหลากหลายทางชีวภาพของป่าภูพาน ผมจึงมีภาพกิจกรรมมาให้ท่านๆได้ชม ดังนี้

 

  

 

 

 

อย่างไรก็ตามการขุดลอกครั้งนี้เป็นมาตรการชั่วคราวเพื่อให้มองเห็นตัวฝายได้ชัดเจน แต่ปัญหาการตกตะกอนทับถมยังคงเกิดขึ้นในฤดูฝนทุกปีเพราะพื้นที่ภูเขามี slope สูงทำให้มีการกัดเซาะจากความเร็วของน้ำ 

 

คุณ Nutthagode Sudta ที่เป็นเพื่อน facebook และเป็นนักศึกษาภาควิชาโบราณคดี ที่มหาวิทยาลัยศิลปากร ยืนยันเมื่อกลางเดือนกุมภาพันธ์ 2560 ว่าไม่พบฝายขอมลักษณะนี้ในสาระบบของกรมศิลปากร

 

         สรุป

         จากการสืบค้นทะเบียนโบราณสถานของกรมศิลปากรยังไม่ปรากฏ "ฝายหินยุคขอมเรืองอำนาจที่ตั้งอยู่บนภูเขา" ...... หรือว่าฝายแห่งนี้เป็นหนึ่งเดียวในประเทศไทย! หากโปรโมทให้เป็นจุดหนึ่งของการท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์และการเดินป่าก็น่าจะได้รับความสนใจจากผู้คนไม่น้อย จึงมีข้อเสนอ ดังนี้ครับ

1. พัฒนาทางเดินในป่าให้สะดวกต่อการเข้าไปชม

2. สร้าง check dam บนต้นน้ำเพื่อลดความเร็วและเป็นที่ดักตะกอน อีกทั้งเป็นการสร้างระบบนิเวศน์ของป่า

3. มีระบบการจัดการตามมาตรฐานของอุทยานแห่งชาติ

 

 

 

 

 

 

 







Copyright © 2010 All Rights Reserved.
มูลนิธิเพื่อการพัฒนาผู้นำธุรกิจและชุมชน
The Foundation for Business and Community Leadership Development
โดย
นายอารีย์ ภู่สมบูญ
ประธานกรรมการมูลนิธิฯ