ReadyPlanet.com
dot
dot
สืบเสาะเจาะลึกเมืองสกล
dot
bulletMegalithic Gate of Equinox ...... Sakon Nakhon Thailand
bulletปฏิทินท่องเที่ยวดาราศาสตร์และโหราศาสตร์เมืองสกล Mar 2024 - Feb 2025
bulletหนองหารหลวง ....... นครแห่ง "สุริยะปฏิทินพันปี"
bulletหนองหารหลวง ........ เมืองแห่ง "มหาสงกรานต์" จริงหรือ?
bulletปราสาทนารายณ์เจงเวง .....อะไรหายไปแล้ว อะไรเสี่ยงสูญหาย
bulletปราสาทภูเพ็ก ถูกดัดแปลง?
bulletสะพานขอมปัจจุบัน ....... โบราณสถานตัวจริง หรือสร้างใหม่?
bulletนาฬิกาแดดขนาดยักษ์เมืองสกล Google Earth ก็มองเห็น
bulletนาฬิกาแดดโรงเรียนวิถีธรรมเมืองสกล ...... มรดกจากบรรพชน
bulletSakon Hempmade มิติใหม่อุตสาหกรรมสิ่งทอ
bulletความรู้ปัจจุบัน ฤาจะเทียบชั้นกับวันวาน Ancient Wisdom V/S Digital Technology
bulletพบฐานรากปราสาทขอมใกล้ลำน้ำก่ำ
bulletปราสาทภูเพ็ก สกลนคร สุดๆแห่งปราสาทขอมในประเทศไทย
bulletปฏิบัติการภูเพ็ก ดอนสวรรค์ พิสูจน์คำทำนายซินแส ฮวงจุ้ยเมืองสกล
bulletสุริยะปฏิทินขอมพันปี
bullet "อาทิตย์ทรงกลด" ณ ปราสาทขอมเมืองสกล วิทยาศาสตร์ที่ลงตัวกับความเชื่อ
bulletโลกล้านปีที่แอ่งสกลนคร
bulletกลุ่มชาติพันธุ์ไทโส้ ....... เป็นใคร ....... มาจากไหน?
bulletพระยาสุระอุทก .......หนองหารหลวง ตำนานที่จับต้องได้
bulletรับพลังสุริยะยุคก่อนประวัติศาสตร์ ...... ที่สกลนคร
bulletกรมศิลปากรโยนหินถาม...เอกสารสิทธิ์ทับคูเมืองสกลโบราณ จะออกทางไหน
bulletหลากมิติอารยธรรม 4 ยุค "บ้านท่าวัด" ริมหนองหาร สกลนคร
bulletถอดจารึกขอม "ภูถ้ำพระ" ทำไมพระพุทธรูปไปอยู่ที่นั่น
bulletปราสาทขอมเมืองสกล.....เอาหินมาจากไหน ?
bulletพระธาตุดุม....ในอีกมุมมอง
bulletมุมมองใหม่ "สะพานขอม" ฝายทดน้ำชลประทาน
bulletไขความลับปราสาทนารายณ์เจงเวง
bulletหนองหารหลวงเมืองหน้าด่าน ยันกับอาณาจักรจาม
bulletไขประตูสู่อดีตพระธาตุเชิงชุม ...... ในอีกมุมมอง
bulletประตูเมืองโบราณสกลนครอยู่ตรงไหน
bulletปฏิบัติการ "มหาสงกรานต์" ไขปริศนาจารึกเมืองสกลโบราณ
dot
เปิดประเด็นการท่องเที่ยว
dot
bulletปราสาทบ้านปรางค์ มิติดาราศาสตร์และศาสตร์แห่งความเชื่อ
bulletปลานิล Biofloc "Safe and Saab"
bulletStory Board มหัศจรรย์ปราสาทภูเพ็ก ตำนานที่จับต้องได้
bulletเรือท่องเที่ยวหนองหารขับเคลื่อนด้วยพลังงานไฟฟ้า
bulletตัวอย่าง เส้นทางท่องเที่ยวสกลนคร 2 วัน 1 คืน
bulletยุทธศาสตร์การท่องเที่ยวเส้นทาง "ราชมรรคา"
bulletTourism Gimmick
bulletTourism Project Proposal
bulletสุริยะปฏิทินจักรราศีดอนสวรรค์ Don Sawan Zodiacal Solar Calendar
bulletSt.Peter's Fish โปรโมทการท่องเที่ยวและสร้างอาชีพใหม่....สกลนคร
bulletBig Project Tourism SNO
bulletAdventure Tourism (Search-Found-Selfie) ลุยป่าค้นหาขอมพันปี
dot
ปฏิบัติการดาราศาสตร์ Operation Astronomy
dot
bulletOperation Spica .... ไขปริศนา "เมืองโบราณศรีเทพ"
bulletย้อนอดีต "ราหูอมสุริยา" ก่อนเปลี่ยนแผ่นดินสมเด็จพระนารายณ์มหาราช
bulletOperation Rahu Episode XV วัดระยะทาง โลก - ดวงจันทร์ - ดวงอาทิตย์
bulletเจาะลึกเบื้องหลังเมืองโบราณศรีเทพ Operation Spica EP 2
bulletOperación Intercontinental Solsticio de Invierno ปฏิบัติการดาราศาสตร์ เห-มา-ยัน ข้ามทวีป ไทย - เม็กซิโก ธันวาคม 2022
bulletOperation Rahu Episode XIV Total Lunar Eclipse 8 Nov 2022 How Far is The Moon?
bulletOperation Transcontinental Equinox 2022 ปฏิบัติการวสันตวิษุวัตข้ามทวีป 2565
bulletOperation Chou Li Episode V ..... Earth's axis tilt 23.5?
bulletOperation Rahu Episode XIII How Far is the Moon (Lunar Eclipse 26 May 2021)
bulletOperation Bhishma Winter Solstice 2020 finding Earth's axis tilt
bulletOperation Rahu Episode XII Solar Eclipse and Summer Solstice 21 June 2020 How far and how big is the sun
bulletOperation Rahu Episode XI How far is the sun
bulletปฏิบัติการราหู ครั้งที่ 10 (Operation Rahu X) วัดระยะทางโลก - ดวงอาทิตย์ ปรากฏการณ์สุริยะปราคาเต็มดวง
bulletปฏิบัติการชูหลี 4 มุมเอียงโลกยังคง 23.5 หรือไม่ (Operation Chou Li Episode IV)
bulletOperation Eratosthenes Episode II Mar 21, 2019 Measure Earth's circumference with one stick
bulletปฏิบัติการวันสิ้นโลกภาคสาม Operation Doomsday Episode III
bulletOperation Galileo Episode II วัดความเร็วของโลก "หมุนรอบตัวเอง (Rotation) และโคจรรอบดวงอาทิตย์ (Revolution)"
bulletOperation Rahu IX 28 July 2018 Total Lunar Eclipse วัดระยะทางโลก - ดวงจันทร์
bulletOperation Rahu VIII Measuring Distance Earth-Moon ปฏิบัติการข้ามทวีป Thailand - USA
bulletOperation Chou Li Episode III (Measure Earth Axis Tilt With One Stick)
bulletปฏิบัติการไจตระ ถอดรหัสคณิตศาสตร์ขอมพันปี ปราสาทภูเพ็ก สกลนคร
bulletปฏิบัติการดาราศาสตร์ข้ามทวีป Operation Transcontinental Equinox 2016
bulletOperation Bhishma 2016 ปฏิบัติการดาราศาสตร์ข้ามทวีป ..... การหมุนรอบตัวเองและวงโคจรของโลกยังคงปกติหรือไม่?
bulletวัดมุมเอียงของโลก...ด้วยไม้แท่งเดียว
bulletOperation Rahu Episode I measuring earth to moon วัดระยะทางจากโลกถึงดวงจันทร์ ในปรากฏการณ์จันทรุปราคาเต็มดวง
bulletOperation Rahu Episode II สูตรใหม่คำนวณระยะทางโลกไปดวงจันทร์
bulletปฏิบัติการ "เจนัส" วัดมุมเอียงของโลก
bulletOperation Rahu Episode III 4 April 2015 วัดระยะทางโลกไปดวงจันทร์
bulletปฏิบัติการเวกัส 2558 "อีราโต้สทีเน้ส " ภาค 2 วัดโลกทั้งใบด้วยไม้แท่งเดียว
bulletOperation Rahu Episode IV วัดระยะทางโลก - ดวงจันทร์
bulletปฏิบัติการชูหลี (Operation Chou Li) ยืนยันมุมเอียงโลก 23.5 องศา
bulletOperation Rahu Episode V วัดระยะทางโลก - ดวงอาทิตย์
bulletOperation Rahu Episode VI How far and how big is the Moon
bulletOperation Rahu Episode VII How far and how big is the sun
bulletOperation Chou Li Episode II (Measuring Earth's Tilt)
bulletวัดโลกทั้งใบ ไทย กัมพูชา ปฏิบัติการ "อีราโตสทีเนส" ข้ามประเทศ
bulletปฏิบัติการ "กาลิเลโอ" วัดความเร็วการหมุนของโลกที่ปราสาทภูเพ็ก
bulletปฏิบัติการวันสิ้นโลกภาค 2 ข้ามทวีป ปราสาทภูเพ็ก สกลนคร VS ปีรามิดเผ่ามายา เม็กซิโก
dot
แนะนำผู้เขียน
dot
bulletนายกสโมสรโรตารีสกลนคร ปีบริหาร 2556 - 2557
bulletสรรค์สนธิ บุณโยทยาน
dot
สากกะเบือยันเรือรบ กับปราสาทภูเพ็ก สกลนคร
dot
bulletปฏิบัติการอัสวีน่า ปราสาทภูเพ็ก (Operation Ashvina 23 Sep 2019)
bulletพระพุทธรูปศิลปะขอมซ่อนอยู่ใต้โพรงหินที่ปราสาทภูเพ็ก.....สื่อถึงอะไร
bulletภูเพ็ก....เมกกะโปรเจค นครที่สาปสูญ
bulletปฏิบัติการวันสิ้นโลก 2012 ท้าพิสูจน์ที่ปราสาทภูเพ็ก สกลนคร
bulletความเป็นมาของปราสาทภูเพ็ก
bulletตลึง ! พบ “ฝายหินพันปี” กลางป่าภูเพ็ก
bulletครบรอบ 10 ปี การค้นพบ "สุริยะปฏิทินพันปี" ปราสาทภูเพ็ก
bulletปรากฏการณ์ดาราศาสตร์ "เหมายัน" 21 -22 ธันวาคม ที่ปราสาทภูเพ็ก
bulletเผยเทคนิคการออกแบบก่อสร้างปราสาทภูเพ็ก
bulletความเป็นมาของสุริยปฏิทิน
bulletพิสูจน์สุริยะวิถี กับปฏิทินมหาศักราชที่ปราสาทภูเพ็ก
bulletรับพลัง "สุริยันจันทรา" ประชันดาวหางแพนสตาร์
dot
เปิดโลกวิทยาศาสตร์
dot
bulletปลูกป่าส่วนตัว กับ 2050 Net Zero Mission Impossible?
bulletพิสูจน์เชิงประจักษ์ "ปลูกป่าให้โตเร็ว" ด้วยธนาคารน้ำใต้ดิน
bulletBiofloc ...... Fish Farm 4.0
bulletทำไมเดือนกุมภาพันธ์ มี 28 วัน
bulletBiofloc Farming เลี้ยงปลาระบบปิด Fisheries 4.0
bulletข้าวหอมมะลิใช้น้ำน้อย 2019
bulletClimate Change Mitigation & Adaptation "It's Now or Never"
bulletฟาร์มปลาเชิงพาณิชย์ใช้น้ำน้อยระบบ Biofloc
bulletข้าวหอมมะลิใช้น้ำน้อย 2561 (2018)
bulletGroundwater Bank (An alternative water management)
bulletข้าวหอมมะลิกับดาราศาสตร์ ปลูกปีละ 2 ครั้ง ได้หรือไม่?
bulletHow Herbal Medicine Works
bulletระบบให้น้ำโรงเรือนปลูกผักบริษัทประชารัฐ สกลนคร
bulletป่าเศรษฐกิจครอบครัวทางเลือกใหม่ win win ทั้งชาวบ้านและรัฐบาล
bulletEarth and Space Class
bulletวิเคราะห์ฤกษ์รัตนโกสินทร์ในมุมวิทยาศาสตร์
bulletปฏิบัติการพิมาย ชาตินี้มีครั้งเดียว Operation Phimai Once or Never
bulletนาฬิกาแดดโรงเรียนวิถีธรรม ม.ราชภัฏสกลนคร
bulletทำไมชาวมายาในเม็กซิโกจึงมีรูปร่างหน้าเหมือนคนเอเซีย
bulletปรากฏการณ์ดวงอาทิตย์ตรงศรีษะ (sun overhead)
bulletเกาะติดไปกับยาน New Horizons เผยความลับพลูโต "ดาวเคราะห์ลูกเมียน้อย"
bulletทำนาน้ำน้อยแต่ผลผลิตสูง เป็นไปได้หรือไม่ More Rice With Less Water?
bullet21-22 มิถุนายน ปรากฏการณ์ดาราศาสตร์ "ครีษมายัน" Summer Solstice กลางวันยาวที่สุดในรอบปี
bulletดางหาง ISON ปรากฏการณ์ดาราศาสตร์ปิดท้ายปี 2556
bulletมองหมากเม่าผ่านมิติดาราศาสตร์
bulletดาราศาสตร์ที่เราเห็น.....ล้วนเป็นภาพลวงตา
bulletเข้าพรรษาบางปีทำไมต้องเดือน 8-8
bulletประสบการณ์ตรงเรื่อง "ยูเอฟโอ" ผมคิดแบบวิทยาศาสตร์
bulletเกาะติดการค้นหาชีวิตบนดาวอังคาร กับยาน Curiosity
bulletหม้อหุงข้าวพลังแสงอาทิตย์ นวัตกรรมติดดิน
bulletนาฬิกาแดดต้นแบบมิติเวลาของมนุษยชาติ
bulletภาคปฏิบัติ....วัดโลกทั้งใบด้วยไม้แท่งเดียว
bulletการอบรมเชิงปฏิบัติการ "อีราโทสทีเนส"
bulletชวนครูไทย วัดโลกทั้งใบ ด้วยไม้แท่งเดียว
dot
จับประเด็นร้อน
dot
bulletอะไรจะเกิดขึ้นถ้าแม่น้ำโขงเผชิญกับสภาพ "ไร้ตะกอน" (Hungry River)
bulletฤาตำนานหนองหารล่ม.....จะกลายเป็นเรื่องจริง
bulletทำไมคนถึงอยากครอบครอง "ดอนสวรรค์" ในบึงหนองหาร สกลนคร
bulletกู้ "หนองหาร" ด้วยมือเรา.....เริ่มต้นที่บ้าน
bulletบทเรียนอันเจ็บปวดของเขื่อนในอเมริกา....ฤา จะสะท้อนสามแสนล้านบาทเพื่อจัดการน้ำของไทย
bulletโบราณวัตถุพันปีสกลนคร....อยู่ในภาวะเสี่ยงสูญหาย
bulletภัยมืดรุกชาวสกล...จากสาหร่ายพิษในหนองหาร
bulletน้ำท่วม "ตัวเมืองสกล" บทเรียนที่น่าจะถึงเวลาสรุปเสียที
bulletพายุ "นกกระเตน" ทำเสียหายสวนยางเมืองสกล
bulletฤา...นโยบาย 300 บาท จะช่วยบรรเทาปัญหา “หัวดำออก หัวหงอกเลี้ยง”
dot
อินเดียน่าโจนส์ (ภาคสรรค์สนธิ)
dot
bulletThe Cosmic Code of Borobudur รหัสจักรวาลแห่งบูโรพุทโธ
bulletThe Riddle of Ayutthaya
bulletทำไมวันปีใหม่ต้องเป็น 1 มกราคม? Why does the new year begin on January 1 ?
bulletผลการดูงานสหกรณ์การเกษตรประเทศไต้หวัน 23 - 26 สิงหาคม 2559
bulletประกาศิตเทพเจ้ากูกูลข่าน The Return of God Kukulkan
bulletวางผังเมืองเชียงใหม่ด้วยวิธีดาราศาสตร์
bulletกุมภาพันธ์ ปี "อธิกสุรทิน" ทำไมต้อง 29 วัน
bulletมองผ่านประตูพระธาตุพนมในอีกมุม
bulletจับพิรุธรูปสลักหินอ่อน "กษัตริย์เดวิท" ที่เมืองฟอร์เรนซ์
bulletย้อนอดีตกรุงเก่าอยุธยา ถือฤกษ์ "รามนะวามิ"
bulletท่อน้ำศักดิ์สิทธิ์ "โสมสูตร" ที่ปราสาทขอมในกัมพูชาหายไปไหนหมด
bulletอาทิตย์ตั้งฉากกับพุทธสถานชื่อดังในวันวิสาขบูชาโลก
bulletปราสาทพิมายในมุมมองวิทยาศาสตร์
bulletมองปราสาทขอม ในแง่มุมดาราศาสตร์ การเมือง และความเชื่อ โดยนักรบออนไลน์ กับไกด์มืออาชีพ
bulletตรุษจีน ตรุษเวียต ตรุษไทสกล และบุญเบิกฟ้า
bulletปริศนา "ปราสาทบายน" ฤา.....มนุษยชาติจะผ่านพ้นความขัดแย้ง
bulletประสูติ ตรัสรู้ ปรินิพพาน ทำไมต้องใช้ชื่อว่า "วิสาขะ"
bulletราหู.....น้ำอมฤต.....สนามบินสุวรรณภูมิ
bulletอาณาจักร "ทวารวดี" ทำไมจึงล่มสลาย
bullet"มาฆบูชา" ทำไมต้องใช้ชื่อนี้
bullet"ทัชมาฮาล" ในมุมมองดาราศาสตร์
bulletคำสอนพุทธองค์เปล่งประกายอีกครั้งในดินแดนภารตะ
bulletเมือง "สารนาท" ที่มาแห่งวันอาสาฬหบูชา
bulletแกะรอย "สุริยะเทพ" ที่ปราสาทพนมบาเค็ง
bulletถอดความศิลาจารึกพระเจ้าชัยวรมันที่ 7 พบ "ฤกษ์อโรคยาศาล"
bulletปราสาทหินพิมาย กับสามเหลี่ยมพุทธมหายาน
bulletจากพระธาตุเชิงชุม ถึงพุทธคยา
bulletถอดรหัสขอมพันปี 80 องศา พบราศีเมษ
bulletไขปริศนาปราสาทพนมรุ้ง
bullet13 เมษายน 2551 วันสงกรานต์ จริงหรือ ?
bullet21 มี.ค. 51 ปรากฏการณ์ทางดาราศาสตร์ที่ยิ่งใหญ่ของโลก
bulletตำนานวันปีใหม่ มิติแห่งกาลเวลาของมนุษยชาติ
bulletเข้าพรรษา ปี 2550 ทำไมต้องมีเดือนแปดสองหน
bulletมหาสงกรานต์ 13–15 เม.ย.
bulletปฏิบัติการอีราโตสทีเนสวัดโลกทั้งใบ ด้วยไม้แท่งเดียว
bulletบ่าวคำหอม ล่ะเบ๋อ
bulletแวดวง BCL.
bulletปฏิบัติการ "อีราโทสทีเนส" วัดเส้นรอบวงโลกด้วยไม้แท่งเดียว




นาฬิกาแดดโรงเรียนวิถีธรรมเมืองสกล ...... มรดกจากบรรพชน

         นาฬิกาแดดโรงเรียนวิถีธรรมเมืองสกล ........ มรดกจากบรรพชน

          นาฬิกาแดดชนิด Equatorial ที่โรงเรียนวิถีธรรม ม.ราชภัฏสกลนคร ดูเผินๆเหมือนสิ่งก่อสร้างธรรมดา แต่ถ้ามองในมุมดาราศาสตร์และคณิตศาสตร์ ไม่ง่ายเหมือนที่คิดเพราะต้องออกแบบให้แผ่นหน้าปัด (dial) ขนานกับเส้นศูนย์สูตรโลก เข็มนาฬิกา (gnomon) ก็ชี้ที่ขั้วโลกเหนือ และทั้งหมดต้องหันไปที่ทิศเหนือแท้ (true north) ..... เพียงคำถามข้อแรกก็เล่นเอาใบ้กิน 

     จากการศึกษารูปแบบนาฬิกาแดดชนิด equatorial ที่บรรพชนชาวจีนสร้างไว้ในพระราชวังต้องห้าม ณ กรุงปักกิ่ง ทำให้ได้เบื้องหลังการออกแบบที่อิงหลักการดาราศาสตร์และคณิตศาสตร์อย่างลึกซึ้ง และนำมาเป็นต้นแบบนาฬิกาแดดที่โรงเรียนวิถีธรรม เมืองสกล

           โจทย์ใหญ่ที่ยังสร้างความน่าฉงน นาฬิกาแดดอันนี้สร้าง ปี ค.ศ.1420 แต่การค้นพบ "เส้นศูนย์สูตรโลก" (Earth Equator) เกิดขึ้น ปี ค.ศ.1736 ห่างกัน 300 ปี คำถาม ....... บรรพชนเหล่านั้น รู้จักเส้นศูนย์สูตรโลกได้อย่างไร? หรือท่านเหล่านั้นมองเห็นโลกในอนาคต?

 

 

นาฬิกาแดดชนิด equatorial ตั้งอยู่ที่พระราชวังต้องห้าม กรุงปักกิ่ง

 

สะเป็กของนาฬิกาแดดชนิด equatorial ต้องมีมุมเอียงเท่ากับองศาเส้นรุ้ง (a)

เพื่อให้หน้าปัด (dial) ขนานกับเส้นศูนย์สูตรโลก และเข็มนาฬิกา (gnomon)

ต้องชี้ที่ขั้วโลกเหนือ คำถามที่น่าฉงน ...... บรรพชนยุค ค.ศ.1420 รู้จักเส้นศูนย์สูตรโลก

และองศาเส้นรุ้งได้อย่างไร? เพราะข้อมูลเหล่านี้เกิดใน 300 ปี ต่อมา ค.ศ.1736  

 

ข้อมูลการท่องเที่ยวของจีนอธิบายว่านาฬิกาแดดทำมุมเอียงจากแนวดิ่ง

เท่ากับองศาเส้นรุ้ง ณ สถานที่นั้น (39.9 องศา) ทำให้ตัวนาฬิกาขนานกับ

เส้นศูนย์สูตรของโลก

 

 

นาฬิกาแดดที่โรงเรียนวิถีธรรม ม.ราชภัฏสกลนคร ลอกเลียนองค์ความรู้

มาจากบรรพชนชาวจีน และใช้วิธีเดียวกันในการออกแบบโดยไม่ต้องพึงพา

ทคโนโลยีและอุปกรณ์ยุคปัจจุบัน

 

          คำถาม ....... บรรพชนชาวจีน เอาแนวคิดการสร้างนาฬิกาแดดมาจากไหน อย่างไร ?

 

          เป็นเรื่องที่น่าคิดและยังไม่มีคำอธิบายชัดเจนว่าบรรพชนเหล่านั้นสร้างองค์ความรู้ขึ้นมาได้อย่างไร ...... ดังนั้น สิ่งที่จะอธิบายต่อไปนี้เกิดจากการวิเคราะห์เชิงตรรกะและสมมุติฐานที่เรียกว่า "สิ่งที่น่าจะเป็น" ลองติดตามดูครับ

 

จากผลการเฝ้าสังเกตอย่างต่อเนื่องเป็นเวลานานหลายปี บรรพชน

ได้ข้อสรุปว่าดวงอาทิตย์เคลื่อนที่กลับไปกลับมาระหว่างทิศเหนือ และทิศใต้

เมื่อดวงอาทิตย์ทางเหนือ "กลางวันยาวกว่ากลางคืน" และเมื่อดวงอาทิตย์

เคลื่อนไปทางใต้กลางคืนยาวกว่ากลางวัน เมื่องสังเกตให้ดีจะเห็นว่า ณ จุดกึ่งกลาง

ระหว่างเหนือและใต้ กลางวันกับกลางคืนเท่าๆกันและเป็นจุดเปลี่ยนฤดู

 

สังเกตเห็นการขึ้นและตกหรือวิถีสุริยะของแต่ละฤดูกาลไม่เหมือนกัน

แต่ก็สอดคล้องกับการเคลื่อนที่ของดวงอาทิตย์ในแนว เหนือ - ใต้

 

ถ้าลองเอาวัตถุ เช่น แท่งไม้ปักไว้จะเกิดเงาที่ไม่เหมือนกันในแต่ละฤดูกาล

เงาด้านเหนือและใต้เป็นรูปโค้ง แต่เงา ณ จุดตรงกลางเป็นเส้นตรงและทำมุม

ตกกระทบกับพื้นดินเป็น "มุมเอียง" (a)  

 

ทดลองเอาแผ่นไม้วางให้เท่ากับมุมเอียง a พบว่าแสงอาทิตย์ถูกแบ่งออก

เป็นด้านเหนือ และด้านใต้

 

เอาแท่งไม้ใส่เข้าไปตรงกลางแผ่นรับแสงอาทิตย์ เกิดเงาตั้งแต่เช้าจนเย็น


ในฤดูหนาวเกิดเงาด้านทิศใต้ ฤดูร้อนเกิดเงาด้านทิศเหนือ เงาเหล่านี้สามารถแบ่ง

ออกเป็นช่องๆเท่าๆกันซึ่งต่อมาเรารู้ว่านี่คือ "ชั่วโมง" สอดคล้องกับหลักคณิตศาสตร์

"ฐานหกสิบ และตัวเลข แม่ 12" ที่ค้นพบโดยชาวสุเมเรี่ยนในดินแดนเมโสโปเตเมีย

องค์ความรู้นี้น่าจะกระจายผ่านอารยธรรมของโลกยุคโบราณ เช่น 12 จักรราศี

ดังนั้นการแบ่งกลางวันและกลางคืนออกเป็นอย่างละ 12 ส่วน ก็เป็นสิ่งที่รับรู้กันดี

ในเหล่านักดาราศาสตร์ เมื่อเอา 180 องศา หารด้วย 12 ได้ช่องละ 15 องศา

จึงเป็นต้นตำหรับนาฬิกาแดด

 

 

นาฬิกาแดดแบ่งออกเป็น 12 ช่องๆละ 15 องศา

 

 

การติดตั้งนาฬิกาแดดให้ตรงกับทิศเหนือแท้ น่าจะใช้วิธี shadow plot 

 

 

นาฬิกาแบบของบรรพชนชาวจีนมีความถูกต้องตามหลักดาราศาตร์

และคณิตศาสตร์ฐานหกสิบ

 

เราๆท่านๆใช้องค์ความรู้ปัจจุบันเพื่อพิสูจน์ว่านาฬิกาแดดของบรรพชนจีน

มีความสัมพันธ์กับ "เส้นศูนย์สูตรของโลก และองศาเส้นรุ้ง" และตั้งชื่อนาฬิกาแดด

อันนี้ว่า equatorial sundial มีความหมายว่า "ขนานกับเส้นศูนย์สูตร" จากภาพนี้

ถ้าตั้งหน้าปัดนาฬิกาแดด (dial) ให้เอียงจากแนวดิ่งเท่ากับองศาของเส้นรุ้ง (a) 

จะทำให้ตัวนาฬิกาแดด "ขนานกับเส้นศูนย์สูตร" โดยปริยาย ตามกฏของปีธากอรัส

https://www.travelchinaguide.com/attraction/beijing/forbidden-city/miraculous-sundials.htm 

จากข้อมูลของเว้ปไซด์นี้ ระบุว่าเส้นรุ้งของพระราชวังแห่งเมืองต้องห้าม (The Forbidden City) คือ 39.9 N

ารวางตัวของนาฬิกาแดดจึงต้องทำมุมจากแนวดิ่งเท่ากับ 39.9 องศา และขนานกับเส้นศูนย์สูตรของโลก

The sundial plate is placed parallel to the equator on the base. In other words,

the angle between the sundial plate and the vertical line of the ground is exactly

the latitude of where the sundial is located. The Forbidden City is

located at 39° 54 north latitude, so the angle is exactly 39° 54.

 

             นาฬิกาแดด กับ โลก

             นาฬิกาแดด ทำหน้าที่เสมือนโลกย่อส่วนโดยหมุนไปกับโลกและโคจรรอบดวงอาทิตย์

 

 

โลกโคจรรอบดวงอาทิตย์ด้วยมุมเอียงประมาณ 23.5 องศา 

 

นาฬิกาแดดติดไปกับโลกในทุกย่างก้าวของการโคจรรอบดวงอาทิตย์ 

 

 

แผ่น dial รับแสงอาทิตย์ในฤดูกาลที่ต่างกันระหว่างด้านเหนือและด้านใต้

 

ไม่ว่านาฬิกาแดดจะไปตั้งอยู่ที่เส้นรุ้งไหนของโลก ถ้าทำมุมเอียงจากแนวดิ่ง

ให้เท่ากับองศาเส้นรุ้ง ณ สถานที่นั้นๆ ตัวนาฬิกา (dial) จะต้องขนานกับเส้นศูนย์สูตร

เสมอไปดังในภาพ อนึ่ง เป็นที่น่าสังเกตว่าหากนาฬิกาแดดตั้งอยู่ที่ขั้วโลกเหนือ

ตัวนาฬิกาจะทำมุม 90 องศา และไม่มีมุมเอียงเลย ขณะเดียวกันถ้าไปตั้งอยู่ที่เส้นศูนย์สูตร

ก็มีมุมเท่ากับศูนย์องศา เพราะ latitude at equator = 00 องศา 

 

 

การออกแบบนาฬิกาแดดที่โรงเรียนวิถีธรรม .....มรดกจากบรรพชน

ใช้องค์ความรู้จากบรรพชนทดลองออกแบบนาฬิกาแดดชนิด equatorial โดยมีขั้นตอน ดังนี้

1.ค้นหาทิศเหนือแท้ด้วยวิธี shadow plot โดยมอบหมายให้คุณครูอ้อยจบปริญญาภาษาอังกฤษทำหน้าที่บันทึกเงาดวงอาทิตย์ด้วย curve ทุกๆ 10 นาที 

 

 

 

การ plot curve เงาดวงอาทิตย์ทุกๆ 10 นาที ปรากฏผลดังที่เห็นในภาพ  

 

ใช้วิชาเรขาคณิตสร้างวงกลมตัดกับเงาดวงอาทิตย์และทำเครื่องหมาย ณ จุดตัด

จะได้เส้นตรง ตะวันออก ตะวันตก ทิศเหนือ และทิศใต้ 

 

จากการทำ shadow plot ที่ปราสาทภูเพ็ก สกลนคร ในวัน "วสันตวิษุวัต"

ได้ข้อมูล "องศาเส้นรุ้ง" 17 องศา

 

นำข้อมูลทั้งหมดมาออกแบบนาฬิกาแดดชนิด equatorial ที่โรงเรียนวิถีธรรม 

 

ผลงานนาฬิกาแดดจากองค์ความรู้ของบรรพชน

 

ดวงอาทิตย์ในปรากฏการณ์วิษุวัต (equinox) ณ เวลาเที่ยงสุริยะ

จะทำให้เกิดเงาเป็นเส้นตรงดังภาพ เพราะดวงอาทิตย์อยู่ในตำแหน่ง

17 องศา เช่นเดียวกับเส้นรุ้ง ณ จังหวัดสกลนคร

 

การพิสูจน์เชิงดาราศาสตร์และคณิตศาตร์ว่ามุมตกกระทบของดวงอาทิตย์

ณ เวลาเที่ยงสุริยะ (solar noon) ในปรากฏการณ์วิษุวัต (equinox) เท่ากับ

องศา "เส้นรุ้ง" ณ สถานที่นั้นๆ A = a 

 

           สรุป

          บรรพชนในยุคนั้นไม่มี GPS ไม่มีดาวเทียม ไม่มีอุปกรณ์วิทยาศาสตร์แบบปัจจุบัน ไม่รู้จักเส้นรุ้ง เส้นแวง ไม่รู้ว่าเส้นศูนย์สูตรคืออะไร รู้เพียงอย่างเดียวว่า "โลกกลม" และโคจรรอบดวงอาทิตย์ด้วยมุมเอียง ...... นักดาราศาสตร์ชาวจีน Chou Li เป็นคนแรกที่สามารถคำนวณมุมเอียงของโลก ท่านที่สนใจสามารถอ่านบทความ Operation Chou Li ในเว้ปไซด์เดียวกันนี้  

    ท่านเหล่านั้นใช้สติปัญญาในการสังเกตธรรมชาติ บันทึกข้อมูลอย่างต่อเนื่อง ลองผิดลองถูก จนได้ข้อสรุปที่ถูกต้องตามหลักดาราศาสตร์และคณิตศาสตร์นำมาออกแบบนาฬิกาแดด ที่เราๆท่านๆในปัจจุบันตั้งชื่อ equatorial sundial เพราะรู้ว่ามีความสัมพันธ์กับ "เส้นศูนย์สูตรโลก" ทุกวันนี้นาฬิกาแดดก็ยังถูกใช้งานในโลกปัจจุบัน เป็น Landmark ที่สง่างามตามสถานที่สำคัญทั่วโลก

 

 

นาฬิกาแดดชนิด equatorial ที่พิพิธภัณฑ์ดาราศาสตร์เมือง Chicago USA 

 

 

 







Copyright © 2010 All Rights Reserved.
มูลนิธิเพื่อการพัฒนาผู้นำธุรกิจและชุมชน
The Foundation for Business and Community Leadership Development
โดย
นายอารีย์ ภู่สมบูญ
ประธานกรรมการมูลนิธิฯ