ReadyPlanet.com
dot
dot
สืบเสาะเจาะลึกเมืองสกล
dot
bulletMegalithic Gate of Equinox ...... Sakon Nakhon Thailand
bulletปฏิทินท่องเที่ยวดาราศาสตร์และโหราศาสตร์เมืองสกล Mar 2024 - Feb 2025
bulletหนองหารหลวง ....... นครแห่ง "สุริยะปฏิทินพันปี"
bulletหนองหารหลวง ........ เมืองแห่ง "มหาสงกรานต์" จริงหรือ?
bulletปราสาทนารายณ์เจงเวง .....อะไรหายไปแล้ว อะไรเสี่ยงสูญหาย
bulletปราสาทภูเพ็ก ถูกดัดแปลง?
bulletสะพานขอมปัจจุบัน ....... โบราณสถานตัวจริง หรือสร้างใหม่?
bulletนาฬิกาแดดขนาดยักษ์เมืองสกล Google Earth ก็มองเห็น
bulletนาฬิกาแดดโรงเรียนวิถีธรรมเมืองสกล ...... มรดกจากบรรพชน
bulletSakon Hempmade มิติใหม่อุตสาหกรรมสิ่งทอ
bulletความรู้ปัจจุบัน ฤาจะเทียบชั้นกับวันวาน Ancient Wisdom V/S Digital Technology
bulletพบฐานรากปราสาทขอมใกล้ลำน้ำก่ำ
bulletปราสาทภูเพ็ก สกลนคร สุดๆแห่งปราสาทขอมในประเทศไทย
bulletปฏิบัติการภูเพ็ก ดอนสวรรค์ พิสูจน์คำทำนายซินแส ฮวงจุ้ยเมืองสกล
bulletสุริยะปฏิทินขอมพันปี
bullet "อาทิตย์ทรงกลด" ณ ปราสาทขอมเมืองสกล วิทยาศาสตร์ที่ลงตัวกับความเชื่อ
bulletโลกล้านปีที่แอ่งสกลนคร
bulletกลุ่มชาติพันธุ์ไทโส้ ....... เป็นใคร ....... มาจากไหน?
bulletพระยาสุระอุทก .......หนองหารหลวง ตำนานที่จับต้องได้
bulletรับพลังสุริยะยุคก่อนประวัติศาสตร์ ...... ที่สกลนคร
bulletกรมศิลปากรโยนหินถาม...เอกสารสิทธิ์ทับคูเมืองสกลโบราณ จะออกทางไหน
bulletหลากมิติอารยธรรม 4 ยุค "บ้านท่าวัด" ริมหนองหาร สกลนคร
bulletถอดจารึกขอม "ภูถ้ำพระ" ทำไมพระพุทธรูปไปอยู่ที่นั่น
bulletปราสาทขอมเมืองสกล.....เอาหินมาจากไหน ?
bulletพระธาตุดุม....ในอีกมุมมอง
bulletมุมมองใหม่ "สะพานขอม" ฝายทดน้ำชลประทาน
bulletไขความลับปราสาทนารายณ์เจงเวง
bulletหนองหารหลวงเมืองหน้าด่าน ยันกับอาณาจักรจาม
bulletไขประตูสู่อดีตพระธาตุเชิงชุม ...... ในอีกมุมมอง
bulletประตูเมืองโบราณสกลนครอยู่ตรงไหน
bulletปฏิบัติการ "มหาสงกรานต์" ไขปริศนาจารึกเมืองสกลโบราณ
dot
เปิดประเด็นการท่องเที่ยว
dot
bulletปราสาทบ้านปรางค์ มิติดาราศาสตร์และศาสตร์แห่งความเชื่อ
bulletปลานิล Biofloc "Safe and Saab"
bulletStory Board มหัศจรรย์ปราสาทภูเพ็ก ตำนานที่จับต้องได้
bulletเรือท่องเที่ยวหนองหารขับเคลื่อนด้วยพลังงานไฟฟ้า
bulletตัวอย่าง เส้นทางท่องเที่ยวสกลนคร 2 วัน 1 คืน
bulletยุทธศาสตร์การท่องเที่ยวเส้นทาง "ราชมรรคา"
bulletTourism Gimmick
bulletTourism Project Proposal
bulletสุริยะปฏิทินจักรราศีดอนสวรรค์ Don Sawan Zodiacal Solar Calendar
bulletSt.Peter's Fish โปรโมทการท่องเที่ยวและสร้างอาชีพใหม่....สกลนคร
bulletBig Project Tourism SNO
bulletAdventure Tourism (Search-Found-Selfie) ลุยป่าค้นหาขอมพันปี
dot
ปฏิบัติการดาราศาสตร์ Operation Astronomy
dot
bulletOperation Spica .... ไขปริศนา "เมืองโบราณศรีเทพ"
bulletย้อนอดีต "ราหูอมสุริยา" ก่อนเปลี่ยนแผ่นดินสมเด็จพระนารายณ์มหาราช
bulletOperation Rahu Episode XV วัดระยะทาง โลก - ดวงจันทร์ - ดวงอาทิตย์
bulletเจาะลึกเบื้องหลังเมืองโบราณศรีเทพ Operation Spica EP 2
bulletOperación Intercontinental Solsticio de Invierno ปฏิบัติการดาราศาสตร์ เห-มา-ยัน ข้ามทวีป ไทย - เม็กซิโก ธันวาคม 2022
bulletOperation Rahu Episode XIV Total Lunar Eclipse 8 Nov 2022 How Far is The Moon?
bulletOperation Transcontinental Equinox 2022 ปฏิบัติการวสันตวิษุวัตข้ามทวีป 2565
bulletOperation Chou Li Episode V ..... Earth's axis tilt 23.5?
bulletOperation Rahu Episode XIII How Far is the Moon (Lunar Eclipse 26 May 2021)
bulletOperation Bhishma Winter Solstice 2020 finding Earth's axis tilt
bulletOperation Rahu Episode XII Solar Eclipse and Summer Solstice 21 June 2020 How far and how big is the sun
bulletOperation Rahu Episode XI How far is the sun
bulletปฏิบัติการราหู ครั้งที่ 10 (Operation Rahu X) วัดระยะทางโลก - ดวงอาทิตย์ ปรากฏการณ์สุริยะปราคาเต็มดวง
bulletปฏิบัติการชูหลี 4 มุมเอียงโลกยังคง 23.5 หรือไม่ (Operation Chou Li Episode IV)
bulletOperation Eratosthenes Episode II Mar 21, 2019 Measure Earth's circumference with one stick
bulletปฏิบัติการวันสิ้นโลกภาคสาม Operation Doomsday Episode III
bulletOperation Galileo Episode II วัดความเร็วของโลก "หมุนรอบตัวเอง (Rotation) และโคจรรอบดวงอาทิตย์ (Revolution)"
bulletOperation Rahu IX 28 July 2018 Total Lunar Eclipse วัดระยะทางโลก - ดวงจันทร์
bulletOperation Rahu VIII Measuring Distance Earth-Moon ปฏิบัติการข้ามทวีป Thailand - USA
bulletOperation Chou Li Episode III (Measure Earth Axis Tilt With One Stick)
bulletปฏิบัติการไจตระ ถอดรหัสคณิตศาสตร์ขอมพันปี ปราสาทภูเพ็ก สกลนคร
bulletปฏิบัติการดาราศาสตร์ข้ามทวีป Operation Transcontinental Equinox 2016
bulletOperation Bhishma 2016 ปฏิบัติการดาราศาสตร์ข้ามทวีป ..... การหมุนรอบตัวเองและวงโคจรของโลกยังคงปกติหรือไม่?
bulletวัดมุมเอียงของโลก...ด้วยไม้แท่งเดียว
bulletOperation Rahu Episode I measuring earth to moon วัดระยะทางจากโลกถึงดวงจันทร์ ในปรากฏการณ์จันทรุปราคาเต็มดวง
bulletOperation Rahu Episode II สูตรใหม่คำนวณระยะทางโลกไปดวงจันทร์
bulletปฏิบัติการ "เจนัส" วัดมุมเอียงของโลก
bulletOperation Rahu Episode III 4 April 2015 วัดระยะทางโลกไปดวงจันทร์
bulletปฏิบัติการเวกัส 2558 "อีราโต้สทีเน้ส " ภาค 2 วัดโลกทั้งใบด้วยไม้แท่งเดียว
bulletOperation Rahu Episode IV วัดระยะทางโลก - ดวงจันทร์
bulletปฏิบัติการชูหลี (Operation Chou Li) ยืนยันมุมเอียงโลก 23.5 องศา
bulletOperation Rahu Episode V วัดระยะทางโลก - ดวงอาทิตย์
bulletOperation Rahu Episode VI How far and how big is the Moon
bulletOperation Rahu Episode VII How far and how big is the sun
bulletOperation Chou Li Episode II (Measuring Earth's Tilt)
bulletวัดโลกทั้งใบ ไทย กัมพูชา ปฏิบัติการ "อีราโตสทีเนส" ข้ามประเทศ
bulletปฏิบัติการ "กาลิเลโอ" วัดความเร็วการหมุนของโลกที่ปราสาทภูเพ็ก
bulletปฏิบัติการวันสิ้นโลกภาค 2 ข้ามทวีป ปราสาทภูเพ็ก สกลนคร VS ปีรามิดเผ่ามายา เม็กซิโก
dot
แนะนำผู้เขียน
dot
bulletนายกสโมสรโรตารีสกลนคร ปีบริหาร 2556 - 2557
bulletสรรค์สนธิ บุณโยทยาน
dot
สากกะเบือยันเรือรบ กับปราสาทภูเพ็ก สกลนคร
dot
bulletปฏิบัติการอัสวีน่า ปราสาทภูเพ็ก (Operation Ashvina 23 Sep 2019)
bulletพระพุทธรูปศิลปะขอมซ่อนอยู่ใต้โพรงหินที่ปราสาทภูเพ็ก.....สื่อถึงอะไร
bulletภูเพ็ก....เมกกะโปรเจค นครที่สาปสูญ
bulletปฏิบัติการวันสิ้นโลก 2012 ท้าพิสูจน์ที่ปราสาทภูเพ็ก สกลนคร
bulletความเป็นมาของปราสาทภูเพ็ก
bulletตลึง ! พบ “ฝายหินพันปี” กลางป่าภูเพ็ก
bulletครบรอบ 10 ปี การค้นพบ "สุริยะปฏิทินพันปี" ปราสาทภูเพ็ก
bulletปรากฏการณ์ดาราศาสตร์ "เหมายัน" 21 -22 ธันวาคม ที่ปราสาทภูเพ็ก
bulletเผยเทคนิคการออกแบบก่อสร้างปราสาทภูเพ็ก
bulletความเป็นมาของสุริยปฏิทิน
bulletพิสูจน์สุริยะวิถี กับปฏิทินมหาศักราชที่ปราสาทภูเพ็ก
bulletรับพลัง "สุริยันจันทรา" ประชันดาวหางแพนสตาร์
dot
เปิดโลกวิทยาศาสตร์
dot
bulletปลูกป่าส่วนตัว กับ 2050 Net Zero Mission Impossible?
bulletพิสูจน์เชิงประจักษ์ "ปลูกป่าให้โตเร็ว" ด้วยธนาคารน้ำใต้ดิน
bulletBiofloc ...... Fish Farm 4.0
bulletทำไมเดือนกุมภาพันธ์ มี 28 วัน
bulletBiofloc Farming เลี้ยงปลาระบบปิด Fisheries 4.0
bulletข้าวหอมมะลิใช้น้ำน้อย 2019
bulletClimate Change Mitigation & Adaptation "It's Now or Never"
bulletฟาร์มปลาเชิงพาณิชย์ใช้น้ำน้อยระบบ Biofloc
bulletข้าวหอมมะลิใช้น้ำน้อย 2561 (2018)
bulletGroundwater Bank (An alternative water management)
bulletข้าวหอมมะลิกับดาราศาสตร์ ปลูกปีละ 2 ครั้ง ได้หรือไม่?
bulletHow Herbal Medicine Works
bulletระบบให้น้ำโรงเรือนปลูกผักบริษัทประชารัฐ สกลนคร
bulletป่าเศรษฐกิจครอบครัวทางเลือกใหม่ win win ทั้งชาวบ้านและรัฐบาล
bulletEarth and Space Class
bulletวิเคราะห์ฤกษ์รัตนโกสินทร์ในมุมวิทยาศาสตร์
bulletปฏิบัติการพิมาย ชาตินี้มีครั้งเดียว Operation Phimai Once or Never
bulletนาฬิกาแดดโรงเรียนวิถีธรรม ม.ราชภัฏสกลนคร
bulletทำไมชาวมายาในเม็กซิโกจึงมีรูปร่างหน้าเหมือนคนเอเซีย
bulletปรากฏการณ์ดวงอาทิตย์ตรงศรีษะ (sun overhead)
bulletเกาะติดไปกับยาน New Horizons เผยความลับพลูโต "ดาวเคราะห์ลูกเมียน้อย"
bulletทำนาน้ำน้อยแต่ผลผลิตสูง เป็นไปได้หรือไม่ More Rice With Less Water?
bullet21-22 มิถุนายน ปรากฏการณ์ดาราศาสตร์ "ครีษมายัน" Summer Solstice กลางวันยาวที่สุดในรอบปี
bulletดางหาง ISON ปรากฏการณ์ดาราศาสตร์ปิดท้ายปี 2556
bulletมองหมากเม่าผ่านมิติดาราศาสตร์
bulletดาราศาสตร์ที่เราเห็น.....ล้วนเป็นภาพลวงตา
bulletเข้าพรรษาบางปีทำไมต้องเดือน 8-8
bulletประสบการณ์ตรงเรื่อง "ยูเอฟโอ" ผมคิดแบบวิทยาศาสตร์
bulletเกาะติดการค้นหาชีวิตบนดาวอังคาร กับยาน Curiosity
bulletหม้อหุงข้าวพลังแสงอาทิตย์ นวัตกรรมติดดิน
bulletนาฬิกาแดดต้นแบบมิติเวลาของมนุษยชาติ
bulletภาคปฏิบัติ....วัดโลกทั้งใบด้วยไม้แท่งเดียว
bulletการอบรมเชิงปฏิบัติการ "อีราโทสทีเนส"
bulletชวนครูไทย วัดโลกทั้งใบ ด้วยไม้แท่งเดียว
dot
จับประเด็นร้อน
dot
bulletอะไรจะเกิดขึ้นถ้าแม่น้ำโขงเผชิญกับสภาพ "ไร้ตะกอน" (Hungry River)
bulletฤาตำนานหนองหารล่ม.....จะกลายเป็นเรื่องจริง
bulletทำไมคนถึงอยากครอบครอง "ดอนสวรรค์" ในบึงหนองหาร สกลนคร
bulletกู้ "หนองหาร" ด้วยมือเรา.....เริ่มต้นที่บ้าน
bulletบทเรียนอันเจ็บปวดของเขื่อนในอเมริกา....ฤา จะสะท้อนสามแสนล้านบาทเพื่อจัดการน้ำของไทย
bulletโบราณวัตถุพันปีสกลนคร....อยู่ในภาวะเสี่ยงสูญหาย
bulletภัยมืดรุกชาวสกล...จากสาหร่ายพิษในหนองหาร
bulletน้ำท่วม "ตัวเมืองสกล" บทเรียนที่น่าจะถึงเวลาสรุปเสียที
bulletพายุ "นกกระเตน" ทำเสียหายสวนยางเมืองสกล
bulletฤา...นโยบาย 300 บาท จะช่วยบรรเทาปัญหา “หัวดำออก หัวหงอกเลี้ยง”
dot
อินเดียน่าโจนส์ (ภาคสรรค์สนธิ)
dot
bulletThe Cosmic Code of Borobudur รหัสจักรวาลแห่งบูโรพุทโธ
bulletThe Riddle of Ayutthaya
bulletทำไมวันปีใหม่ต้องเป็น 1 มกราคม? Why does the new year begin on January 1 ?
bulletผลการดูงานสหกรณ์การเกษตรประเทศไต้หวัน 23 - 26 สิงหาคม 2559
bulletประกาศิตเทพเจ้ากูกูลข่าน The Return of God Kukulkan
bulletวางผังเมืองเชียงใหม่ด้วยวิธีดาราศาสตร์
bulletกุมภาพันธ์ ปี "อธิกสุรทิน" ทำไมต้อง 29 วัน
bulletมองผ่านประตูพระธาตุพนมในอีกมุม
bulletจับพิรุธรูปสลักหินอ่อน "กษัตริย์เดวิท" ที่เมืองฟอร์เรนซ์
bulletย้อนอดีตกรุงเก่าอยุธยา ถือฤกษ์ "รามนะวามิ"
bulletท่อน้ำศักดิ์สิทธิ์ "โสมสูตร" ที่ปราสาทขอมในกัมพูชาหายไปไหนหมด
bulletอาทิตย์ตั้งฉากกับพุทธสถานชื่อดังในวันวิสาขบูชาโลก
bulletปราสาทพิมายในมุมมองวิทยาศาสตร์
bulletมองปราสาทขอม ในแง่มุมดาราศาสตร์ การเมือง และความเชื่อ โดยนักรบออนไลน์ กับไกด์มืออาชีพ
bulletตรุษจีน ตรุษเวียต ตรุษไทสกล และบุญเบิกฟ้า
bulletปริศนา "ปราสาทบายน" ฤา.....มนุษยชาติจะผ่านพ้นความขัดแย้ง
bulletประสูติ ตรัสรู้ ปรินิพพาน ทำไมต้องใช้ชื่อว่า "วิสาขะ"
bulletราหู.....น้ำอมฤต.....สนามบินสุวรรณภูมิ
bulletอาณาจักร "ทวารวดี" ทำไมจึงล่มสลาย
bullet"มาฆบูชา" ทำไมต้องใช้ชื่อนี้
bullet"ทัชมาฮาล" ในมุมมองดาราศาสตร์
bulletคำสอนพุทธองค์เปล่งประกายอีกครั้งในดินแดนภารตะ
bulletเมือง "สารนาท" ที่มาแห่งวันอาสาฬหบูชา
bulletแกะรอย "สุริยะเทพ" ที่ปราสาทพนมบาเค็ง
bulletถอดความศิลาจารึกพระเจ้าชัยวรมันที่ 7 พบ "ฤกษ์อโรคยาศาล"
bulletปราสาทหินพิมาย กับสามเหลี่ยมพุทธมหายาน
bulletจากพระธาตุเชิงชุม ถึงพุทธคยา
bulletถอดรหัสขอมพันปี 80 องศา พบราศีเมษ
bulletไขปริศนาปราสาทพนมรุ้ง
bullet13 เมษายน 2551 วันสงกรานต์ จริงหรือ ?
bullet21 มี.ค. 51 ปรากฏการณ์ทางดาราศาสตร์ที่ยิ่งใหญ่ของโลก
bulletตำนานวันปีใหม่ มิติแห่งกาลเวลาของมนุษยชาติ
bulletเข้าพรรษา ปี 2550 ทำไมต้องมีเดือนแปดสองหน
bulletมหาสงกรานต์ 13–15 เม.ย.
bulletปฏิบัติการอีราโตสทีเนสวัดโลกทั้งใบ ด้วยไม้แท่งเดียว
bulletบ่าวคำหอม ล่ะเบ๋อ
bulletแวดวง BCL.
bulletปฏิบัติการ "อีราโทสทีเนส" วัดเส้นรอบวงโลกด้วยไม้แท่งเดียว




Operación Intercontinental Solsticio de Invierno ปฏิบัติการดาราศาสตร์ เห-มา-ยัน ข้ามทวีป ไทย - เม็กซิโก ธันวาคม 2022

 ปฏิบัติการดาราศาสตร์ เห-มา-ยัน ข้ามทวีป ไทย - เม็กซิโก ธันวาคม 2565

Operacion Intercontinental Solsticio de Invierno Deciembre 2022

 

 

 

          แนะนำดาราศาสตร์ 

 

           บทความนี้เต็มไปด้วยศัพท์ดาราศาสตร์ จึงขอแนะนำข้อมูลเบื้องต้นให้ท่านผู้อ่านได้ทำความรู้จัก

 โลกกับฤดูกาลทั้ง 4 

ลกโคจรรอบดวงอาทิตย์ลักษณะมุมเอียงประมาณ 23.5 องศา

ใช้เวลา 365 วัน แต่ละวันมุมตกกระทบแสงอาทิตย์ที่กระทำต่อผิวโลก

เปลี่ยนไป ทำให้ผิวโลกในแต่ละช่วงมีอุณหภูมิไม่เท่ากันเป็นสาเหตุให้

เกิดฤดูกาล 4 ครั้ง 

 

ตำแหน่งการขึ้นและตกของดวงอาทิตย์ในแต่ละฤดู

         

ฤดูกาลของโลกกับปรากฏการณ์ดาราศาสตร์เกี่ยวข้องกัน กล่าวคือ

ฤดูร้อน ครีษมายัน (summer solstice) กลางวันยาวที่สุด 21-22 มิถุนายน 

วิษุวัติ equinox กลางวันเท่ากับกลางคืน มี 2 ครั้ง ฤดูใบไม้ผลิ วสันตวิษุวัต (vernal equinox) 21 มีนาคม

และ ฤดูใบไม้ร่วง ศารทวิษุวัต (autumnal equinox) 23 กันยายน

ฤดูหนาว เห-มา-ยัน (winter solstice) 21-22 ธันวาคม กลางคืนยาวที่สุด

 

ระบบการเรียกมุมของดวงอาทิตย์ 

 

มุมกวาด (azimuth) เป็นการกำหนดค่าองศา

ของแต่ละทิศ เริ่มต้น ณ ทิศเหนือ 00 องศา กวาดไปทางขวามือ ทิศตะวันออก 90 องศา

กวาดต่อไปที่ทิศใต้ 180 องศา และทิศตะวันตก 270 องศา กลับไปสิ้นสุด ณ ทิศเหนือ

360 องศา แต่ในทางดาราศาสตร์เรียกว่า 00 องศา ทั้งหมดนี้ก็คือองศาของวงกลมนั่นเอง

อนึ่งคำว่า azimuth มีรากศัพท์จากภาษาอาราบิก แปลว่า "มุม" เพราะชาวอาหรับเป็นนักดาราศาสตร์

และเป็นนักเดินเรือตัวยง และที่ต้องกวาดไปทางขวาเพราะคนส่วนใหญ่ "ถนัดขวา"  

 

 มิติแห่งเวลาใช้ solar time ไม่ใช่ clock time

ปฏิบัติการครั้งนี้ใช้นาฬิกาแดดเป็นตัวจับเวลา (solar time) เพื่อให้สอดคล้องกับ

ตำแหน่งมุมกวาดของดวงอาทิตย์ ณ เวลานั้นๆ ในภาพนี้เงาของนาฬิกาแดด

ระบุว่าดวงอาทิตย์อยู่ที่ทิศตะวันออกเฉียงใต้ ณ มุมกวาด 128 องศา  

 

             ปฏิบัติการ ......... ทำไมต้องใช้ชื่อนี้

    Operacion Intercontinental Solsticio de Invierno Deciembre 2022  

          ตอบ ...... เป็นปฏิบัติการดาราศาสตร์ข้ามทวีปในประเทศที่ใช้ภาษา Spanish โดยประจำการที่โบราณสถาน Chichen Itza จังหวัด Yucatan ประเทศ Mexico ตรงกับช่วงปรากฏการณ์ เห-มา-ยัน (winter solstice กลางคืนยาวที่สุดในรอบปี) ประกบกับ "สุริยะปฏิทินขอมพันปี" ปราสาทภูเพ็ก สกลนคร ประเทศไทย โดยมีผู้ช่วยของผมชื่อ คุณนก ภูเพ็ก เป็นผู้ร่วมปฏิบัติการ ชื่อนี้แปลเป็นภาษาอังกฤษ Operation Intercontinental Winter Solstice December 2022 

 

ปีรามิด Kukulkan ที่ Chichen Itza Mexico และ ปราสาทภูเพ็ก

สกลนคร ประเทศไทย ตั้งอยู่คนละทวีปและคนละมุมโลก

   

    วัตถุประสงค์ของปฏิบัติการ?

    1. เพื่อพิสูจน์ว่าพันปีที่แล้ว ชาวมายา ในเม็กซิโก กับชาวขอมโบราณ ที่สกลนคร ต่างก็มีความรู้ดาราศาสตร์ เห-มา-ยัน เหมือนกัน แม้ว่าจะอยู่คนละซีกโลก ยุคนั้นยังไม่มีการสื่อสารผ่าน intrrnet และไปรษณีย์ แต่ทำไมบรรพชนเหล่านั้น ....... คิดเหมือนกัน?

 

Graphic ปรากฏการณ์ดาราศาสตร์ เห-มา-ยัน ที่ปราสาทภูเพ็ก และปีรามิด Kukulkan

 

    2. เพื่อตีโจทย์ "ทำไมปีรามิด Kukulkan"  ที่ Chichen Itza จึงถูกออกแบบให้หันหน้าเอียงไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ที่มุมกวาด 18 องศา (azimuth 18 degree) ต่างจากโบราณสถานทั่วไปของชาวมายา

      คำถาม ......  อะไรคือแรงจูงใจให้ตั้งโจทย์ข้อนี้?

      คำตอบ ........ วันที่ 5 - 6 สิงหาคม 2558 ไปที่สถานที่แห่งนี้เป็นครั้งแรก ยืนมองปีรามิดด้วยความฉงนคิดในใจว่า ผู้สร้างต้องมีเจตนาอันแรงกล้าและวัตถุประสงค์สำคัญเบื้องหลัง ประกอบกับเอกสารระบุว่าปีรามิดหันหน้า 18 องศา จากทิศเหนือ (azimuth 18 degree) ใช้ GPS และเข็มทิศสอบเทียบก็ตรงกัน ยิ่งกว่านั้นตอนว่าจ้างให้ทำปฏิทินวันเกิด 6 August 1950 ในภาษามายัน คนทำมองหน้าแล้วบอกว่า ....... วันเกิดของคุณใกล้เคียงกับวันเริ่มต้นของปฏิทินชาวมายา (The Long Count Mayan Calendar ) 11 August 3114 BC ( 5129 ปีที่แล้ว) ถ้าคุณมาที่นี่พันปีที่แล้ว นักบวชและกษัตริย์จะเลือกเอาคุณไปถวายพระเจ้าด้วยการบูชายันต์ เพราะเกิดตรงกับช่วงเริ่มต้นของปฏิทิน

 

 

6 August 2015 ยืนมองปีรามิด Kukulkan ด้วยความฉงน

 

ปฏิทินวันเกิด 6 August 1950 ในรูปแบบ Loung Count Mayan Calendar

 

 

มาที่ปีรามิดแห่งนี้ 3 ครั้ง  5 - 6 สิงหาคม 2558, 19 - 21 มีนาคม 2559

และ 13 - 14 ธันวาคม 2565 

 

 

ปีรามิด Kukulkan หันหน้าที่มุมกวาด 18 องศา จากทิศเหนือ (azimuth 18)

 

       ทำความรู้จักกับโบราณสถานทั้งคู่

      

           ปราสาทภูเพ็ก 

          โบราณสถานสร้างในยุคขอมเรืองอำนาจ พิกัด 17.2 N 103.9 E บนยอดภูเขา +520 เมตร จากระดับน้ำทะเล หมู่บ้านภูเพ็ก ตำบลนาหัวบ่อ อำเภอพรรณานิคม สกลนคร ปราสาทหลังนี้ใช้วัสดุหินทราย 100% หันหน้าเข้าหาทิศตะวันออกแท้ ที่มุมกวาด 90 องศา (azimuth 90) จึงมีคุณสมบัติตรงกับปรากฏการณ์ดาราศาสตร์ "วิษุวัต" (equinox) แต่สร้างได้เพียงฐานรากและผนังห้องปรางค์ หากต้องการรายละเอียดเพิ่มเติม สามารถเข้าชมได้ที่บทความในเว้ปไซด์เดียวกันนี้  

 

ปราสาทภูเพ็ก อยู่บนยอดภูเขา +520 เมตร ที่จังหวัดสกลนคร

 

การเข้าชมตัวปราสาทต้องเดินขึ้นกระไดเกือบ 500 ขั้น จากลานจอดรถยนต์

หากก่อสร้างเสร็จจะเป็นปราสาทขอมขนาดใหญ่ที่สุดในประเทศไทย

เมื่อเปรียบเทียบกับปราสาทพิมาย และปราสาทพนมรุ้ง  

 

ปราสาทภูเพ็ก สกลนคร เป็นโบราณสถานที่มีคุณสมบัติเป็น "สุริยะปฏิทิน" (Solar Calendar)

จาก Stamp ชุด UNSEEN THAILAND ของการสื่อสารแห่งประเทศไทย ปี 2547 

 

          ปีรามิด Kukulkan 

          โบราณสถานของชาวมายา ที่ Chichen Itza จังหวัดยูคาตัน ประเทศเม็กซิโก พิกัด 20.6 N 88.5 W เป็นมรดกโลกในทวีปอเมริกากลาง สร้างขึ้นเพื่อถวายแด่เทพเจ้ากูกุลข่าน ปีรามิดนี้หันหน้าไปที่มุมกวาด 18 องศา (azimuth 18) เพื่อให้เกิดภาพจากเงาดวงอาทิตย์เป็นรูปร่างเทพเจ้า "งูยักษ์" เลื้อยลงมาจากฟ้าในช่วงปรากฏการณ์ "วิษุวัต" (equinox)  

 

สถานที่ตั้งปีรามิด Kukulkan ประเทศ Mexico

 

รูปร่างหน้าตาปีรามิดก่อนบูรณะ 

 

ภาพงูยักษ์ "เทพเจ้ากูกุลข่าน" เลื้อยลงมาจากท้องฟ้าในปรากฏการณ์ "วิษุวัต" (equinox)

ภาพนี้เกิดที่ราวกระไดด้านทิศเหนือโดยมีหัวงูยักษ์อยู่ข้างล่าง

 

เมื่อบูรณะเรียบร้อยแล้วมีข้อมูลที่สอดคล้องกับปฏิทิน 365 วัน

9 ชั้น ของตัวปีรามิด x 2 = 18 เดือน / ปี ในปฏิทินชาวมายา

กระได 91 ขั้น x 4 ด้าน = 364 วัน บวกอีก 1 คือตัวห้องชั้นบนสุด = 365 วัน

 

Chichen Itza เป็นโบราณสถานที่ UNESCO ขึ้นทะเบียนมรดกโลก

และมีข้อตกลงนานาชาติด้วยสนธิสัญญากรุงเฮกคุ้มครองในยามมีข้อพิพาท

ทางการเมืองหรือการทหาร เพราะถือเป็นสมบัติของมนุษยชาติ 

 

                     การเดินทางไปที่นั่น

          ออกเดินทางจากบ้านที่เมือง Ankeny, Iowa State USA ผ่านสนามบิน Dallas Fortwort Texas ไปที่ประเทศ Mexico ณ เมือง Cancun โดยสารรถบัส ADO Transport ใช้เวลา 4 ชั่วโมง ถึงเมือง Chichen Itza จังหวัด Yucatan เข้าพักโรงแรม Mayaland Resort อยู่ติดกับโบราณสถานแห่งนี้

 

 

เดินทางทั้งเครื่องบินและรถบัสจากรัฐ Iowa USA ถึงเมือง Chichen Itza Mexico 

 

ข้าพักโรงแรม Mayaland Resort ติดกับโบราณสถาน มองจากประตู

เห็นส่วนยอดของ "หอดูดาว ชาวมายา" ชื่อ The Caracol 

 

ส่วนหน้าประตูทางเข้าโบราณสถาน มีลานจอดรถบัส และบูทไกด์ท้องถิ่น

 

 ตั๋วเข้าชมราคา 486 เปโซ / วัน

 

ธรรมเนียมที่ดีของผู้มาเยือนก็ต้องอุดหนุนสินค้า เช่น เสื้อ T-Shirt สัญลักษณ์ปีรามิด

และ sefie กับชาวมายาที่ขายสินค้า  

 

          โจทย์ ข้อที่ 1

          ปีรามิด Kukulkan ของชาวมายา กับ ปราสาทภูเพ็กของชาวขอม มีปรากฏการณ์ เห-มา-ยัน (winter solstice) เหมือนกัน หรือไม่?

                         เครื่องมือและวิธีการเก็บข้อมูล

                         1. นาฬิกาแดด ชนิด Horizontal ที่สามารถแสดงเวลา Solar Time และวัดมุมตกกระทบของดวงอาทิตย์ (angle of incident) และตำแหน่งดวงอาทิตย์ ณ เวลาจริง

             2. ภาพถ่ายตัวปีรามิด Kukulkan ทุกด้านรวม 8 มุม 

                        3. ภาพถ่ายปรากฏการณ์ เห-มา-ยัน ที่ปราสาทภูเพ็ก สกลนคร

 

                การสอบเทียบความแม่นยำของนาฬิกาแดด

      (Caibration of Sundial) ณ บริเวณใกล้กับปีรามิด 

              

              ผลการสอบเทียบพบว่านาฬิกาแดดมีความแม่นยำ 99% สามารถใช้งานได้ดีมีความเชื่อถือตามหลักคณิตศาสตร์และดาราศาสตร์

 

 

การสอบเทียบความแม่นยำของนาฬิกาแดด (Calibration of Sundia)

กับโปรแกรมคอมพิวเตอร์ดาราศาสตร์ (The Starry Night Pro Plus)

ว่าผลการวัดมุมเงยของดวงอาทิตย์ (altitude) จะเท่ากันหรือไม่ 

 

การสอบเทียบความแม่นยำของนาฬิกาแดด ต้องทำ ณ เวลา เที่ยงสุริยะ (solar noon)

 

เที่ยงสุริยะ (solar noon) ดวงอาทิตย์ทำมุมตรงกับแนวทิศ N - S 

เงาของนาฬิกาแดดชี้ตรงกับทิศเหนือแท้ ณ 12:00 of solar time

 

การทำงานของนาฬิกาแดด อาศัยการเคลื่อนตัวของเงาดวงอาทิตย์

เกิดจากการหมุนรอบตัวเองของโลกในอัตรา 15 องศา ต่อ 1 ชั่วโมง

 

 นาฬิกาแดดแสดงเวลา "เที่ยงสุริยะ" 9solar noon) เงาดวงอาทิตย์ชี้ที่แนว N - S

 

 

การคำนวณหาค่าองศาของมุมตกกระทบ (angle of incident)

และมุมเงย (altitude) ณ เวลาเที่ยงสุริยะ H = ความสูงของนาฬิกาแดด

L = ความยาวของเงาดวงอาทิตย์ a = มุมเงยของดวงอาทิตย์ (altitude)

ใช้สูตร Pythagoras Tan a = H / L 

ได้ค่ามุมเงย altitude a  = 45.5784 ณ เที่ยงสุริยะ วันที่ 14 ธันวาคม 2022

 

 

คำนวณค่ามุมเงย (altitude) ของดวงอาทิตย์ ณ เวลาเที่ยงสุริยะ

ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ดาราศาสตร์ The Starry Night Pro Plus

ได้ค่า altitude = 46.016 เปรียบเทียบกับค่า altitude of sundial = 45.5784

ค่าความคาดเคลื่อน Error = (46.016 - 45.5784) / 46.016 x 100 = 0.95% say 1%

ค่าความแม่นยำ = 99%

 

             ถ่ายภาพมุมต่างๆของตัวปีรามิด 

 

           Step 1 ถ่ายภาพจากด้านทิศเหนือ 09:12 ดวงอาทิตย์อยู่ทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ของตัวปีรามิด ณ มุมกวาด azimuth 128 degree เพราะอยู่ในช่วงปรากฏการณ์ดาราศาสตร์ เห-มา-ยัน (winter solstice) คนไทยเรียก "ตะวันอ้อมข้าว" 

 

 

  

เงานาฬิกาแดดแสดงว่าดวงอาทิตย์อยู่ที่ตำแหน่งตะวันออกเฉียงใต้

ณ มุมกวาด 128 (azimuth 128)

 

          Step 2 เดินถ่ายภาพรอบตัวปีรามิด 8 มุม เริ่มต้นตามลำดับหมายเลข

เพื่อยืนยันว่าปรากฏการณ์ เห-มา-ยัน (winter solstice) ตัวปีรามิดในยามบ่ายประมาณ 15:00 น เป็นต้นไป จะมีลักษณะ "สว่างครึ่ง มืดครึ่ง" 

 

 

เดินถ่ายภาพรอบปีรามิดตามหมายเลข 1 - 8

 

ด้านทิศเหนือมืด ทิศตะวันตกสว่าง

 

ทิศตะวันตกสว่าง 

 

 ทิศตะวันตก และทิศใต้สว่าง

 

ทิศใต้สว่าง 

 

 ทิศใต้สว่าง ทิศตะวันออกมืด

 

ทิศตะวันออกมืด 

 

ทิศตะวันออก และทิศเหนือมืด 

 

 

ทิศเหนือมืด 

 

ปรากฏการณ์ มืด - สว่าง อย่างละครึ่ง จะเกิดขึ้นประมาณหลัง 15:00 เป็นต้นไป

ภาพถ่ายเวลา 14:08 ดวงอาทิตย์อยู่ที่ตำแหน่ง มุมกวาด 217 ยังคงมืดเพียงด้านทิศเหนือเท่านั้น และด้านทิศตะวันออกยังคงสว่าง

 

 

14:08 สงอาทิตย์ยังส่องถึงด้านทิศตะวันออก 

 

 

เงานาฬิกาแดดแสดงตำแหน่งดวงอาทิตย์

 

ดวงอาทิตย์ อยู่ที่ตำแหน่งทิศตะวันตกเฉียงใต้ ณ มุมกวาด 217 

 

ตั้งแต่ 15:00 น เป็นต้นไป ปรากฏการณ์ มืด - สว่าง อย่างละครึ่ง จะเห็นได้ชัดเจนดังภาพถ่ายข้างต้นทั้ง 8 มุม 

 

Graphic แสดงตำแหน่งดวงอาทิตย์ ณ เวลา 15:08 

 

 

 

Graphic แสดงมุมดวงอาทิตย์ ณ 236 องศา 

 

 

 

เงาของนาฬิกาแดดเป็นตัวชี้ตำแหน่งดวงอาทิตย์

 

        ปรากฏการณ์ เห-มา-ยัน (winter solstice) ที่ปราสาทภูเพ็ก สกลนคร 

 

          ขอบคุณผู้ช่วยของผม คุณ นก ภูเพ็ก และ คุณ Pom Keeratiya ที่ช่วยถ่ายภาพอันสวยงามของปรากฏการณ์ 

 

 สุริยะปฏิทิน แสดงปรากฏการณ์ เห-มา-ยัน ดวงอาทิตย์ขึ้นที่มุมกวาด 115 องศา

 

 

แท่งหิน "ครรภบัตร" มีนัยสำคัญทางดาราศาสตร์อย่างชัดเจน 

ตำแหน่งดวงอาทิตย์ในปรากฏการณ์ winter solstice อยู่ที่มุมกวาด 115 องศา 

 

 เงาของแท่งหินที่วางในแนว ตะวันออก - ตะวันตก 

 

หินแท่งนี้วางอยู่ในแนว East - West  

 

 

แท่งหินตั้งอยู่บนตัวปราสาท  

 

เงาของแท่งหินสอดคล้องกับตำแหน่งดวงอาทิตย์ที่มุมกวาด 115 องศา  

 

 คุณ Pom Keeratiya ยืนอยู่บนราวบันไดด้านทิศเหนือ

 

เงาของคุณ Pom สามารถชี้ตำแหน่งดวงอาทิตย์ที่มุมกวาด 115 องศา 

 

จุดที่คุณ Pom Keeratiya ยืนให้ถ่ายภาพและปรากฏเงาที่พื้นดิน

เป็นราวบันไดด้านทิศเหนือของตัวปราสาท

 

          ปีรามิด Kukulkan ที่ Chichen Itza Mexico และ ปราสาทภูเพ็ก สกลนคร ประเทศไทย แสดงปรากฏการณ์ เห-มา-ยัน (winter solstice) ในลักษณะของตัวเอง  

 

 

Graphic แสดงปรากฏการณ์ เห-มา-ยัน ณ ปราสาทภูเพ็ก สกลนคร

กับปีรามิด Kukulkan Mexico แสดงว่าชาวขอมโบราณกับชาวมายา

ทั้งคู่รู้จักปรากฏการณ์นี้อย่างดี  

 

     วัตถุประสงค์ข้อที่ 2 ของปฏิบัติการ

            ทำไมปีรามิด Kukulkan ที่ Chichen Itza จึงถูกออกแบบให้หันหน้าเบี่ยงไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ณ มุมกวาด 18 องศา azimuth 18 degree ? 

          การพิสูจน์ไม่ง่ายครับ ....... ต้องใช้เวลาเก็บข้อมูลด้วยตนเอง 2 ครั้ง

          ครั้งแรก ....... เก็บข้อมูลในช่วงปรากฏการณ์ "วสันตวิษุวัต" (vernal equinox) 19 - 21 มีนาคม 2559 (19 - 21 March 2016)

          ครั้งสอง ........ เก็บข้อมูลช่วงปรากฏการณ์ "เห-มา-ยัน" (winter solstice) 14 ธันวาคม 2565 จริงๆตั้งใจจะไปให้ตรงกับช่วง 20 - 22 ธันวาคม แต่ตั๋วเครื่องบินเต็มหมดเพราะใกล้เทศกาลคริตสมาส อย่างไรก็ตาม วันที่ 14 ธันวาคม มุมดวงอาทิตย์เริ่มเข้าสู่ปรากฏการณ์ เห-มา-ยัน แล้ว

 

        ปฏิบัติการ "วสันตวิษุวัต" 19 - 21 มีนาคม 2559 

        จะเห็นเงาดวงอาทิตย์เป็นภาพงูยักษ์เลื้อยลงมาจากท้องฟ้า หมายถึงเทพเจ้า Kukulkan ลงมาจากท้องฟ้าในปรากฏการณ์ดังกล่าว ชาวมายาถือว่าเทพองค์นี้จะบันดาลให้ฝนฟ้าเอื้ออำนวยแก่การเพาะปลูกในฤดูกาลที่จะมาถึง 

 


ชาวมายาเชื่อว่าเทพเจ้า Kulkukan เป็นงูยักษ์ที่อาศัยอยู่บนท้องฟ้า

จึงออกแบบให้ปีรามิดหันหน้าเบี่ยงจากทิศเหนือ 18 องศา เพื่อให้แสงอาทิตย์

ส่องผ่าน step ของปีรามิด และเกิดเงาเป็นภาพงูกำลังเลื้อยที่รางบันไดด้านทิศเหนือ

ลงมาเชื่อมต่อกับรูปสลัก "หัวงู" ด้านล่าง  

 

 

 

 

 การที่ตัวปีรามิดเอียง 18 องศา จากทิศเหนือ สอดรับกับแสงอาทิตย์

ช่วงบ่ายแก่ๆทำให้เกิดภาพนี้อย่างน่าอัศจรรย์ ดวงอาทิตย์อยู่ที่ตำแหน่ง

มุมกวาด 265 องศา (Azimuth: Az 265) และมุมเงย 12 องศา (Altitude: Al 12) 

 

ชาวมายาสร้างหัวงูด้วยการสลักก้อนหินและวางไว้ที่หัวบันได

เพื่อให้ต่ออย่างแนบเนียนกับลำตัวงู

 


สอบเทียบความแม่นยำของนาฬิกาแดด (calibration of sundial's)

เนื่องจากช่วงวันที่ 19 - 22 มีนาคม 2559 เป็นปรากฏการณ์ "วสันตวิษุวัต" เงาของนาฬิกาแดดจะเคลื่อนตัวเป็น "เส้นตรง" ทั้งวัน   

 

อุปกรณ์สำคัญใช้ในการจับเวลาและวัดตำแหน่งดวงอาทิตย์

คือ นาฬิกาแดดชนิด Horizontal 

 

 Spec ของนาฬิกาแดดชนิด Horizantal ออกแบบให้ใช้กับ

โบราณสถาน Chichen Itza ณ เส้นรุ้ง 20 N

 

เงาของนาฬิกาแดดเคลื่อนตัวเป็นเส้นตรง

 

 

ณ เวลาเที่ยงสุริยะ (solar time 12:00) เงานาฬิกาแดดชี้ที่ "ทิศเหนือแท้" 

 

แนวเส้นตรงของปรากฏการณ์ "วสันตวิษุวัต" (equinox line)

 

  จับเวลาด้วยนาฬิกาแดด ..... กับลำดับการเกิดปรากฏการณ์ที่ตัวปีรามิด

 

15 น. กว่าๆยังไม่เกิดภาพอะไร

 

16 น. กว่าๆเริ่มมีเงาฟอร์มตัวแต่ยังไม่ชัดเจน

 

 

17:10 น. เริ่มเห็นภาพงูยักษ์ชัดเจน 

 

 นาฬิกาแดดแสดงเวลา 17:10 น. เกิดภาพงูยักษ์ชัดเจน

 

 

ดวงอาทิตย์อยู่ที่ตำแหน่งมุมกวาด 259 องศา (Az 259)  

 

แสดงวิธีการใช้นาฬิกาแดดคำนวณตำแหน่งดวงอาทิตย์

ที่ มุมกวาด 265 องศา (Az 265) และมุมเงย 12.16 องศา

(Altitude 12.16) ณ solar time 17:10 น.  

 

 

ตรวจสอบกับโปรแกรมคอมพิวเตอร์ดาราศาสตร์ ยืนยัน

ที่มุมกวาด 265 องศา (Az 265) และมุมเงย 12.06 องศา (Al 12) 

มีค่าความคลาดเคลื่อนระหว่างนาฬิกาแดดกับโปรแกรมคอมพิวเตอร์

ดาราศาสตร์เพียง 0.8% (error 0.8%) 

 

สมการแห่งเวลา Equation of Time แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง

solar time VS clock time ช่วงปรากฏการณ์ "วสันตวิษุวัต"

และช่วง 5 - 6 สิงหาคม solar time = clock time

หมายถึงเวลาของนาฬิกาแดด กับ นาฬิกาข้อมือตรงกัน จึงง่าย

ต่อการสอบเทียบเวลาระหว่าง clock time and solar time

 

 

การที่ปีรามิดหันหน้าเบี่ยงจากทิศเหนือ 18 องศา มีเจตนาให้

แสงอาทิตย์เวลา 17:10 เป็นต้นไปจนถึง sunset ทำมุมกับ step

และเกิดเงาเป็นรูปงูยักษ์

 

เดินทางไปที่นั่นด้วยตนเองเพื่อเก็บข้อมูลแบบ real-time 

 

 

            คำถาม ...... ถ้าปีรามิดแห่งนี้หันหน้าตรงกับทิศเหนือแท้ ณ มุมกวาด 00 องศา จะเกิดอะไร?

            คำตอบ ...... มุมแสงอาทิตย์จะไม่สร้างเงา "งูยักษ์" เพราะมุมตกกระทบของแสงอาทิตย์ไม่สัมพันธ์กับ step ของปีรามิด

 

 แสงอาทิตย์ค่อนข้างขนานกับ step ของปีรามิด จึงไม่สามารถสร้างเงา "งูยักษ์"

 

อย่างไรก็ตามปรากฏการณ์ สว่าง - มืด อย่างละครึ่งสามารถเกิดได้

 

            สรุป ........ จากการเก็บข้อมูลทั้งสองครั้งในปรากฏการณ์ "วสันตวิษุวัต" และ "เห-มา-ยัน" ทำให้สามารถตีโจทย์ที่สงสัยมานาน ....... ทำไม ปีรามิด Kukulkan at Chichen Itza Mexico ต้องหันหน้าเบี่ยงไปทางตะวันออก 18 องศา จากทิศเหนือ (azimuth 18) เพราะชาวมายาต้องการเห็นภาพ "งูยักษ์" ในปรากฏการณ์วิษุวัต ปีละ 2 ครั้ง และ "ตัวปีรามิด สว่าง - มืด อย่างละครึ่ง" ในปรากฏการณ์ เห-มา-ยัน 

 

 

 

 

 

 

 

 

 







Copyright © 2010 All Rights Reserved.
มูลนิธิเพื่อการพัฒนาผู้นำธุรกิจและชุมชน
The Foundation for Business and Community Leadership Development
โดย
นายอารีย์ ภู่สมบูญ
ประธานกรรมการมูลนิธิฯ