ReadyPlanet.com


50310010 นายกฤษฎา ฝาระมี วว.เครื่องกลฯ เรียนวันศุกร์ บ่าย ครับ


1.ประวัติส่วนตัว

ชื่อ.นายกฤษฎา  ฝาระมี

ชื่อเล่น.จ๊อบ

อายุ.19

เกิดวันที่ 17 กรกฎาคม  พ.ศ. 2531

กำลังศึกษาที่มหาวิทยาลัยเกษตรศษตร์ 

วิทยาเขตเฉลิมพระเกียรติ  จังหวัดสกลนคร

คณะวิทยาศาตร์และวิดศวกรรมศาสตร์

สาขาเครืองกลและการผลิด

บิดาชื่อนายทักษิณ  ฝาระมี

มารดาชื่อนางกองแก้ว  ฝาระมี

พี่คนแรกชื่อ นางสาวฉัฑฐนันท์  ฝาระมี

พี่คนที่สองชื่อ นางสาวนิภา  ฝาระมี

พี่คนที่สามชื่อ นางสาววนิดา  ฝาระมี

คติประจำใจ  รักไม่ยุ่งมุ่งแต่เรียน

2. ภูมิลำเนา 148 หมู่ 7 ตำบลนาหนาด อำเภอธาตุพนมจังหวัดนครพนม  48110

3.บุคคลในดวงใจ

3.1ไอน์สไตน์  

 ไอน์สไตน์เกิดที่เมืองอูลม์ ประเทศ เยอรมันนี เมื่อ วันที่ 14 มีนาคม ค.ศ.1879 ปีต่อมาครอบครัวของเขาก็ได้ย้ายจากเมืองอูลม์ไปอยู่มิวนิค เขามีจิตใจรักทางดนตรีและสามารถสีไวโอลินได้ดีเมื่อมีอายุเพียง 6ปี พอมีอายุได้ 12ปี เขาก็สามารถเรียนรู้คณิตศาสตร์ได้ด้วยตนเอง ด้วยความที่เขาเรียนเก่งทางคณิตศาสตร์และฟิสิกส์เขาจึงสอบเข้าเรียนที่ The Federal Institute of Technology ในซูริคประเทศสวิสเซอร์แลนด์ หลังจากจบการศึกษาในปี 1900ไอน์สไตน์ก็ทำงานเป็นครูสอนทาง ไปรษณีย์อยู่2ปีจึงได้ทำงานเป็นผู้เชี่ยงชาญทางเทคโนโลยีในสถาบัน แห่งหนึ่งในกรุงบอร์น ไอน์สไตน์ได้รับรางวัลสาขาฟิสิกส์ในปี1921 ขณะที่เขาอยู่ในสหรัฐอเมริกาเป็นช่วงเวลาที่ฮิตเลอร์เรืองอำนาจและทำ การกวาดล้างชาวยิวไอน์สไตน์ซึ่งมีเชื้อสายยิวจึงถูกปลดออกจากการเป็น พลเมืองชาวเยอรมันเขาจึงตกลงใจจะอยู่ในสหรัฐโดยทำงานอยู่ที่สถาบัน การศึกษาในปรินซ์ตัน นิวเจอร์ซี และได้สัญชาติอเมริกันในปี1941 ไอน์สไตน์ ได้รับการยกย่องอย่างสูงก็โดยเหตุที่เขาให้ทฤษฎีแห่งความ สัมพันธ์ซึ่งเป็นทฤษฎีโดยเฉพาะสำหรับปฏิบัติกับวิชาเคลื่อนที่ของไฟฟ้า และทรรศนะศาสตร์ นอกจากนี้เขายังได้ชื่อว่าเป็นผู้มีความสำคัญ อันเป็นประโยชน์ต่อทฤษฎี Quantum และทฤษฎีทั่วไปที่เกี่ยวกับ ความโน้มถ่วง ตลอดชีวิตของเขาได้ทำคุณประโยชน์ให้แก่วงการ วิทยาศาสตร์ในปัจจุบันไว้อย่างมากมาย ไอน์สไตน์ถึง แก่กรรมเมื่อวันที่ 18 มิถุนายน 1955

 

3.2หลุยส์ ปาสเตอร์

หลุยส์ ปาสเตอร์ เกิดในปี ค.ศ.1822 ที่เมืองเล็กๆในประเทศฝรั่งเศส บิดาของเขาต้องการให้หลุยส์ เป็นครูจึงส่งเข้าไปเรียนที่กรุงปารีส จนสำเร็จการศึกษาและได้เป็นอาจารย์สอนมหาวิทยาลัยเมื่ออายุได้32ปี จุลชีพเป็นสิ่งที่ปาสเตอร์สนใจมากทุกคนรู้ว่าเนื้อจะเน่าเปื่อยหากทิ้ง เนื้อไว้กลางแจ้งและทุกคนสามารถมองเห็นตัวจุลชีพในเนื้อได้ด้วย กล้องจุลทรรศน์ที่มีกำลังขยายมากแต่ไม่มีใครรู้ว่าจุลชีพมาจากที่ใด นักวิทยาศาสตร์หัวโบราณคิดว่าเนื้อเน่าทำให้เกิดพวกมัน แต่ปาสเตอร์ ไม่ค่อยแน่ใจนัก เขากลับไปยังวิทยาลัยที่เคยเรียนในกรุงปารีสซึ่งเขา ได้รับการแต่งตั้งเป็นผู้อำนวยการทางวิชาวิทยาศาสตร์ เขาใช้เวลา ทั้งหมดของเขาทำการค้นคว้าเรื่องจุลชีพ ในที่สุดหลุยส์ก็ค้นพบว่า จุลชีพนั้นเกิดจากฝุ่นละอองที่ลอยอยู่ในอากาศมิใช่มาจากอาหารที่ บูดเน่า เขาพิสูจน์โดยการนำเอาขวดซุปเนื้อขึ้นไปบนภูเขาแอลป์ซึ่ง มีอากาศบริสุทธิ์และไม่มีฝุ่นละอองเขาเปิดขวดเหล่านั้นและปล่อยทิ้งไว้ เขาพูดถูกน้ำซุปไม่เสีย บนหิ้งต่างๆของพิพิธภัณฑ์ปาสเตอร์ในกรุงปารีส มีขวดปิดไว้ซึ่งจัดทำขึ้นโดยปาสเตอร์น้ำซุปเนื้อในนั้นยังคงไม่บูดเน่า หลังจากนานกว่าร้อยปี การค้นคว้านี้ทำให้เกิดอาหารกระป๋องที่เรา รู้จักกันทุกวันนี้ ต่อมาปาสเตอร์ได้ทำการทดลองเพื่อหาวิธีรักษา โรคกลัวน้ำ หลังจากทำการทดลองที่เสี่ยงอันตรายหลายครั้งเขาก็ ประสบผลสำเร็จซึ่งการค้นพบวิธีรักษาโรคกลัวน้ำใหความหวังแก่ ผู้คนในหลายประเทศ หลุยส์ ปาสเตอร์ถึงแก่กรรมในปี ค.ศ.1895 มีผู้คนมากมายโศกเศร้าต่อการเสียชีวิตของเขา เขาไม่เพียงแต่เป็น นักวิทยาศาสตร์เท่านั้นแต่ยังเป็นบุคคลสำคัญอีกด้วย

3.3ไมเคิล ฟาราเดย์

ไมเคิล ฟาราเดย์ เกิดเมื่อวันที่ 22 กันยายน ปี ค.ศ.1791 เป็นบุตรของช่างเหล็กชาวอังกฤษ เนื่องจากฐานะไม่สู้ดี เขาจึงได้รับการศึกษาน้อยยังไม่ทันเรียนสำเร็จก็ต้องออกจาก โรงเรียนกลางคัน และใช้ชีวิตอยู่ในสลัมแห่งหนึ่งไม่มีวี่แววว่าจะเติบโตขี้นเป็น นักวิทยาศาสตร์ที่มีชื่อเสียงไปได้ เมื่อมีอายุได้ 13 ปี ไมเคิลก็ไปทำงานเป็นเด็กส่ง หนังสือพิมพ์ และทำงานเย็บปกหนังสือในร้านขายหนังสือด้วย จากการงานนี้ทำให้เขา มีใจรักหนังสือและหาโอกาสอ่านอยู่เสมอ โดยเฉพาะหนังสือที่เกี่ยวกับวิชาไฟฟ้าที่เขา สนใจที่สุด และก็ลองทำการทดลองดูด้วยตนเอง และหาโอกาสไปฟังการบรรยายของ นักวิทยาศาสตร์ต่าง ๆ เสมอ โดยเฉพาะการบรรยายของเซอร์ฮัมฟรีย์ เดวี ซึ่งเขาจะไป ฟังทุกครั้ง และส่งจดหมายแสดงความประสงค์ที่จะขอไปเป็นเด็กรับใช้ของเซอร์อัมฟรีย์ เซอร์อัมฟรีย์ เดวีย์ เห็นชายหนุ่มมีความสนใจอย่างแรงกล้า จึงรับเข้าทำงานเป็นคนล้าง เครื่องมือวิทยาศาสตร์ในห้องเครื่องมือ ทำให้เขามีโอกาสศึกษาวิชาทางวิทยาศาสตร์จาก เซอร์อัมฟรีย์ จนเกิดความชำนาญจนได้รับหน้าที่เป็นผู้ช่วยและติดตามท่านเซอร์ไปในการ เดินทางไปบรรยายทุกครั้ง ในปี 1821 ขณะที่ฟาราเดย์ได้ทำการทดลองเรื่องแม่เหล็กไฟฟ้า เขาก็พบปรากฏการณ์อย่างหนึ่งที่กระแสไฟฟ้าเดินตามเส้นลวดแล้วทำให้เกิดอำนาจ แม่เหล็กรอบ ๆ เส้นลวดกระแสนี้เมื่อนำเอาเข็มแม่เหล็กไปวางไว้ใกล้กระแสนี้ก็จะหมุน ไปเรื่อยๆ ด้วยหลักอันนี้ ฟาราเดย์จึงทดลองประดิษฐ์ไดนาโมเล็กๆ ขึ้น อันเป็นต้นกำเนิด ของไดนาโมที่ใช้กันอยู่ในปัจจุบันไมเคิล ฟาราเดย์ ล้มป่วยเป็นโรคความจำเสื่อมในบั้นปลาย ของชีวิต และถึงแก่กรรมเมื่อ ปี ค.ศ.1867 ที่แฮมป์ตันคอร์ท เมื่ออายุได้ 76 ปี

4. ครูที่เคยสอนมา  5  คน

1.คุณครู สุพิมาร   ไม้เจรีญ   เป็นครูสอนวิชา  ศิลปะ

2.คุณครู อัณญาณี  ณ  พัทลุง   เป็นครูสอนวิชาภาษาไทย

3.คุณครู วรรณภา   หงษ์ทอง เป็นครูสอนวิชาฟิสิกร์

4.คุณครู เฉลียว  โสมงาม  เป็นครูสอนวิชาสังคม

5.คุณครู เกรียงยนต์   ไชยยงค์  เป็นครูสอนวิชาพละศึกษา

5.จุดมุ่งหมายในชีวิต

เรียนจบมีงานทำ เก็บเงินสร้างฐานะส่งเงินกลับไปให้พ่อแม่และตอบแทนบุญคุณคนที่มีพระคุณ

จะตอบแทนสังคมและประเทศชาติโดยการปฏิบัติตามกฎหมายและไม่ทำให้สังคมเดือดร้อนครับผม

6.ความภาคภูมิใจที่ได้อยู่จังหวัดสกลนคร

6.1.  สกลนครเป็นเมืองพุทธศาสนา

6.2.   สกลนครมีประเพณีที่สวยงาน

6.3.   สกลมฃนครมีแหล่งท้องเทียวมากมาย

6.4.    คนสกลนครเป็นคนดีมีน้ำใจ

7.  กลอนบูชาพระพิรุณ

ดวงใจนี้เพื่อวันที่ยิ่งใหญ่

เพื่อความฝันมหาลัยที่โหยหา

เพื่อตำแหน่งปัณฑิตที่ศรัตธา

เพื่ออนาคตข้างหน้าที่รอคอย

ลูกเกษตรคนนี้มีความหวัง

ว่าสักวันจะคว้าชัยมาให้ได้

เพื่อพิสูจน์ความรู้ที่คู่กาย

พร้อมด้วยใปปริญญาแด่ครอบครัว

ด้วยดวงจิตอธิฐานเคารพไหว้

พระพิรุณที่ยิ่งใหญ่คนเกรงขาม

ที่อยู่คู่เกษตรศาสตรมาช้านาน

ดลปันดาลแด่ใจนี้ให้โชคดี



ผู้ตั้งกระทู้ นายกฤษฎา ฝาระมี :: วันที่ลงประกาศ 2008-02-19 00:55:21


[1]

ความคิดเห็นที่ 1 (1017066)

คนเมื่อพลาดรู้แก้ไข ผู้ใหญ่ให้อภัยได้เสมอ

แต่ช่างเที่ยวหลงเผลอ อาจเจอวิบัติภัยได้

วิศวกรต้องเที่ยงตรง ถ้วนถี่ มีระเบียบ เป็นระบบ หากขาดข้อหนึ่งข้อใด เป็นไม่ได้อย่างเด็ดขาด"วิศวกร"  เป็นได้แค่

"วินาศกร"

ผู้แสดงความคิดเห็น บ่าว คำหอม วันที่ตอบ 2008-02-19 14:16:59


ความคิดเห็นที่ 2 (2045018)

 

ภาษาไพเราะมาก

ผู้แสดงความคิดเห็น สา วันที่ตอบ 2010-09-01 10:25:07



[1]


แสดงความคิดเห็น
ความคิดเห็น *
ผู้แสดงความคิดเห็น  *
อีเมล 
ไม่ต้องการให้แสดงอีเมล



Copyright © 2010 All Rights Reserved.